ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระปีย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 8676181 สร้างโดย 2001:44C8:4566:E7AE:BCFD:B15:9680:8116 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 29:
== ประวัติ==
พระปีย์ อันมีความหมายว่า "ผู้เป็นที่รัก"<ref name="พระปีย์">เพ็ญสุภา สุขคตะ ใจอินทร์. (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555). "พระปีย์ vs พระเจ้าเสือ ใครคือโอรสลับของพระนารายณ์ ?". ''มติชนสุดสัปดาห์''. 32:1644, หน้า 76</ref> ไม่ปรากฏประวัติส่วนตัวมากนัก ปรากฏเพียงว่าเป็นบุตรของขุนไกรสิทธิศักดิ์ ชาวบ้านแก่ง ขุนนางชั้นผู้น้อยใน[[จังหวัดพิษณุโลก|เมืองพิษณุโลก]]<ref>{{cite web |url= http://haab.catholic.or.th/web/index.php?option=com_content&view=article&id=3268:2014-09-16-07-01-38&catid=126:2012-07-27-08-28-05&Itemid=66 |title=
เรื่องเล่า ครบรอบ ๓๒๖ ปี สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เสด็จสวรรคตด้วยเหตุแห่งการรัฐประหาร|author=|date= 16 กันยายน 2557 |work= หอจดหมายเหตุ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ |publisher=|accessdate= 3 ตุลาคม 2558}}</ref> โดยในช่วงเวลาที่พระปีย์เกิดนั้น สมเด็จพระนารายณ์ทรงรับเลี้ยงดูเด็กเล็กมาอุปถัมภ์ในพระราชวังหลายคนโดยเลี้ยงดุจลูกหลวง แต่หากเด็กคนใดร้องไห้อยากกลับไปหาพ่อแม่เดิมก็ทรงอนุญาตส่งตัวคืน<ref>เดอะ แบส (เขียน), สันต์ ท. โกมลบุตร (แปล). ''บันทึกความทรงจำของบาทหลวง เดอะ แบส เกี่ยวกับชีวิตและมรณกรรมของก็องสตังซ์ ฟอลคอน''. นนทบุรี : ศรีปัญญา. 2550, หน้า 100-101</ref> แต่[[ลาลูแบร์]]ได้อธิบายเพิ่มเติมว่า สวัสดี''"...พระองค์ทรงพอพระทัยที่จะเลี้ยงไว้จนกระทั่งเด็กนั้นมีอายุได้ 7 ถึง 8 ขวบ พ้นนั้นไปเมื่อเด็กสิ้นความเป็นทารกแล้วก็จะไม่โปรดอีกต่อไป..."'' พระปีย์จึงถวายตัวแด่[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]ตั้งแต่ยังเล็ก แต่ด้วยมีรูปพรรณต่ำเตี้ยพิการค่อมแคระ สมเด็จพระนารายณ์จึงทรงพระกรุณาเรียกว่า '''อ้ายเตี้ย''' และเป็นที่โปรดปรานด้วยมีโวหารดี พูดจาไพเราะอ่อนหวาน<ref name="พระปีย์"/> มีการโจษจันกันว่าพระปีย์อาจเป็นพระโอรสลับของสมเด็จพระนารายณ์<ref>เดอ ลาลูแบร์ (เขียน), สันต์ ท. โกมลบุตร (แปล). ''ราชอาณาจักรสยาม''. กรุงเทพฯ : ก้าวหน้า. 2510, หน้า 43</ref><ref>นิโกลาส์ แซร์แวส (เขียน) สันต์ ท. โกมลบุตร (แปล). ''ประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยาม''. นนทบุรี : ศรีปัญญา. 2550, หน้า 199-200</ref> และสมเด็จพระนารายณ์เองก็ทรงวางเฉยกับเรื่องพระปีย์เป็นโอรสลับเสียด้วย<ref>สุทธิศักดิ์ ระบอบ สุขสุวานนท์ (กันยายน 2552). "พงศาวดารกระซิบเรื่องโอรสลับสมเด็จพระนารายณ์". ''ศิลปวัฒนธรรม'' 30:11, หน้า 99, 116</ref> สมเด็จพระนารายณ์โปรดปรานพระปีย์มากจนมีพระราชประสงค์ที่จะยกพระปีย์เป็นผู้สืบราชสมบัติ<ref>มอร์กาน สปอร์แตช (เขียน), กรรณิกา จรรย์แสง (แปล). ''เงาสยาม ยามผลัดแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2554, หน้า 166</ref> แต่ภายหลังทรงยกเลิกพระราชประสงค์ดังกล่าวไป<ref>มอร์กาน สปอร์แตช (เขียน), กรรณิกา จรรย์แสง (แปล). ''เงาสยาม ยามผลัดแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2554, หน้า 158</ref>
 
สมเด็จพระนารายณ์เองก็มีพระราชประสงค์ให้พระปีย์อภิเษกสมรสกับ[[สมเด็จเจ้าฟ้าสุดาวดี กรมหลวงโยธาเทพ]] พระราชธิดา แต่กรมหลวงโยธาเทพไม่ทรงยินยอมพร้อมพระทัยด้วยและขัดขืนพระราชหฤทัยพระราชบิดา เพราะพระปีย์มีพื้นฐานชาติตระกูลต่ำต้อย หรืออาจเป็นเพราะเจ้าหญิงทรงมีจิตปฏิพัทธ์ผูกพันกับ[[เจ้าฟ้าน้อย]]อยู่ก่อนแล้วก็ได้ ตามที่บันทึกของบาทหลวง เดอะ แบสระบุว่า