ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิจิตร เกตุแก้ว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
บริการเปลี่ยนหมวดหมู่อัตโนมัติด้วยบอต
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์วันเดือนปี และอื่น ๆ
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 20:
}}
 
'''ดาโต๊ะ วิจิตร เกตุแก้ว''' อดีตนายก[[สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์]] ([[พ.ศ. 2538]] -[[ พ.ศ. 2550]]) มีฉายาที่ได้รับจากสื่อมวลชนว่า "วีเจ" เป็นอดีต[[ข้าราชการ]][[กรมพลศึกษา]]
 
== ประวัติ ==
นายวิจิตร เกิดเมื่อวันที่ [[21 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2481]] ที่[[อำเภอปากเกร็ด]] [[จังหวัดนนทบุรี]]การศึกษา
 
== การศึกษา ==
เตรียมอุดมศึกษา : โรงเรียนอำนวยศิลป์พระนคร พญาไท กรุงเทพมหานคร ประกาศนียบัตร : วิชาการศึกษาชั้นต้น (พลานามัย) โรงเรียนฝึกหัดครูพลานามัย ต.วังใหม่
อ.ปทุมวัน ภายในสนามกีฬาแห่งชาติ (ศุภชลาศัย) กรุงเทพมหานคร ประกาศนียบัตร : วิชาการศึกษาชั้นสูง (พลศึกษา)วิทยาลัยพลศึกษา ต.วังใหม อ.ปทุมวัน ภายในสนามกีฬา แห่งชาติ (ศุภชลาศัย)กรุงเทพมหานคร อุดมศึกษา สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ภาควิชาพลศึกษา [[คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะครุศาสตร์]] [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2518]] ต่อมา ได้รับ[[ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์]]สาขาวิชาพลศึกษา จาก[[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]]
 
ประกาศนียบัตร: วิชาการศึกษาชั้นต้น (พลานามัย) โรงเรียนฝึกหัดครูพลานามัย ต.วังใหม่ อ.ปทุมวัน ภายในสนามกีฬาแห่งชาติ (ศุภชลาศัย) กรุงเทพมหานคร
 
ประกาศนียบัตร: วิชาการศึกษาชั้นสูง (พลศึกษา) วิทยาลัยพลศึกษา ต.วังใหม อ.ปทุมวัน ภายในสนามกีฬา แห่งชาติ (ศุภชลาศัย) กรุงเทพมหานคร
 
อ.ปทุมวัน ภายในสนามกีฬาแห่งชาติ (ศุภชลาศัย) กรุงเทพมหานคร ประกาศนียบัตร : วิชาการศึกษาชั้นสูง (พลศึกษา)วิทยาลัยพลศึกษา ต.วังใหม อ.ปทุมวัน ภายในสนามกีฬา แห่งชาติ (ศุภชลาศัย)กรุงเทพมหานคร อุดมศึกษา สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ภาควิชาพลศึกษา [[คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะครุศาสตร์]] [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2518]] ต่อมา ได้รับ[[ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์]]สาขาวิชาพลศึกษา จาก[[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]]
 
== วงการกีฬา ==
เส้น 32 ⟶ 38:
[[ไฟล์:Vj getout.jpg|thumb|กลุ่มผู้ประท้วงแสดงป้ายขับไล่ นายวิจิตร เกตุแก้ว ออกจากตำแหน่ง นายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ]]
 
เหตุการณ์ที่ทำให้นายวิจิตรเป็นที่รู้จักต่อสาธารณะครั้งแรก คือการแข่งขันกีฬา[[เอเชียนเกมส์ 1982]] ([[พ.ศ. 2525]]) นายวิจิตร ซึ่งทำหน้าที่เป็นผู้ตัดสิน การแข่งขันฟุตบอลชาย ระหว่าง [[ฟุตบอลทีมชาติเกาหลีเหนือ|ทีมชาติเกาหลีเหนือ]] กับ[[ฟุตบอลทีมชาติคูเวต|ทีมชาติคูเวต]] ได้ถูกเจ้าหน้าที่ทีม นักฟุตบอล และแฟนฟุตบอล[[เกาหลีเหนือ]] รุมทำร้ายร่างกายอย่างหนัก ด้วยไม้ เก้าอี้ และพลาสติกแข็ง จนได้รับบาดเจ็บ ต้องเย็บแผลถึง 21 เข็ม ภายหลังการแข่งขัน เนื่องจากนายวิจิตรตัดสินให้[[ลูกโทษที่จุดโทษ]]แก่[[คูเวต]]ก่อนหมดเวลา ทำให้คูเวตชนะไป 3-2 โดยทีมเกาหลีเหนือกล่าวหาว่า นายวิจิตรรับ[[สินบน]]จากทีมชาติคูเวต ต่อมา [[สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย]]ได้ตัดสินปรับทีมเกาหลีเหนือให้ตกรอบ และห้ามเกี่ยวข้องกับวงการฟุตบอลเป็นเวลา 2 ปี โดยข่าวนี้ [[สำนักข่าวเอพี]]ได้จัดอันดับให้เป็นหนึ่งใน 10 ข่าวดังกีฬาโลก ในอันดับที่ 8 ด้วย<ref>[http://www.siamfootball.com/php/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=201 ข่าวอันธพาลลูกหนัง 2525]</ref>
 
=== ตำแหน่งในสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ===
เส้น 38 ⟶ 44:
 
ทั้งนี้ ในวาระการดำรงตำแหน่งของนายวิจิตร [[ฟุตบอลทีมชาติไทย|ทีมชาติไทย]]ได้รับการจัด[[อันดับโลกฟีฟ่า]] มีอันดับสูงสุดในประวัติฟุตบอลไทย โดยสูงสุดที่อันดับ 43 ของโลก (ก.ย. 2541)<ref>[http://www.fifa.com/associations/association=tha/ranking/gender=m/index.html]</ref>
เมื่อวันที่ [[11 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2546]] มีกลุ่มผู้สนับสนุนฟุตบอลทีมชาติไทย จำนวน 15 คน นำโดย นาย[[พินิจ งามพริ้ง]] ประธานชมรม[[เชียร์ไทยดอตคอม]] แสดงป้ายผ้า สวมเสื้อที่สกรีนข้อความขับไล่ รวมถึงการตะโกนประท้วงบน[[อัฒจันทร์]] [[สนามราชมังคลากีฬาสถาน]] ในระหว่างการแข่งขันฟุตบอล[[เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก]] นัดชิงชนะเลิศ ระหว่าง[[สโมสรฟุตบอลบีอีซีเทโรศาสน]]ของไทย กับสโมสรจาก[[สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์]] เพื่อขับไล่นายวิจิตร แต่เหตุการณ์ก็จบลงด้วยดี โดยกลุ่มผู้ชุมนุมได้ให้สัมภาษณ์ขอโทษนายวิจิตรผ่าน[[หนังสือพิมพ์]] พร้อมให้เหตุผลในการประท้วงว่า "คุณวิจิตร เป็นผู้ใหญ่แล้ว การกระทำเพื่อการขับไล่นายวิจิตรนั้น ทำให้คุณวิจิตรเสียชื่อเสียง" และยังให้สัญญาว่าจะไม่ยอมให้มีการประท้วงขับไล่นายกสมาคมฯ อีก ซึ่งนายวิจิตรก็มิได้ติดใจเอาความกับกลุ่มผู้ประท้วงแต่อย่างใด
<ref>[http://www.manager.co.th/sport/ViewNews.aspx?NewsID=2000000040985 พินิจ งามพริ้ง ชายผู้กล้าท้าทายสมาคมฟุตบอลฯ (ผู้จัดการ)]</ref>
<ref>[http://www.bbznet.com/scripts/view.php?user=cheerthai&board=1&id=154&c=1&order= "วีเจ" จูบปากเชียร์ไทยดอตคอม (คมชัดลึก)]</ref>
เส้น 46 ⟶ 52:
[[ไฟล์:SiamSport_Cover.jpg|thumb|[[หนังสือพิมพ์]][[สยามกีฬารายวัน]] เสนอข่าวนายวิจิตรลาออกจากนายกสมาคมฟุตบอลฯ]]
 
ในปี [[พ.ศ. 2549]] มีการตั้งข้อสงสัยถึงตัวเลข[[งบดุล]]ของสมาคมฯ ที่มีปัญหา โดยเฉพาะสโมสรที่ชนะเลิศ การแข่งขันฟุตบอล[[ไทยลีก ดิวิชัน 1]] ยังไม่ได้รับเงินรางวัลจำนวน 2,500,000 บาท และอีกหลายสโมสรก็ยังไม่ได้รับเงินบำรุงทีม นายวิจิตร และนายวรวีร์ ในฐานะเลขาธิการสมาคมฯ จึงเปิดแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน เพื่อชี้แจงรายรับรายจ่ายประจำปี ซึ่งปรากฏว่า สมาคมฯ มีรายรับสูงกว่ารายจ่ายประมาณ 1,166,765.43 บาท พร้อมให้เหตุผลว่า สาเหตุที่มีการเบิกจ่ายล่าช้า เนื่องจากเกิด[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|การรัฐประหาร 19 กันยายน]] โอกาสดังกล่าว สมาคมฯ ยังได้แต่งตั้งให้[[ประชา ธรรมโชติ|พันตรีประชา ธรรมโชติ]] เป็นผู้ตรวจสอบบัญชีต่อไป<ref>[http://www.bkkfc.com/vjgetout.php งานเลือกตั้งนายกสมาคมฟุตบอลประจำปี 2549 : สรุปงบดุลฟันกำไร 1 ล้านบาท]</ref><ref>[http://www.manager.co.th/Sport/ViewNews.aspx?NewsID=9490000124099 งามหน้า!!สมาคมฯ เงียบกริบเงินรางวัลไทยลีกล่องหน] ข่าวจาก [[หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ]]</ref>
 
=== ตำแหน่งดาโต๊ะ ===
เมื่อวันที่ [[25 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2542]] [[สุลต่าน]][[อาหมัด ชาห์]]แห่ง[[รัฐปะหัง]] [[ประเทศมาเลเซีย]] ประธาน[[สมาพันธ์ฟุตบอลอาเชียน]](เอเอฟเอฟ) และนายก[[สมาคมฟุตบอลแห่งมาเลเซีย]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานเข็ม และสายสะพาย ตำแหน่ง''ดาโต๊ะ'' แก่นายวิจิตร โดยพิธีดังกล่าว จัดขึ้นที่ ดิ ลาเลรัง เสรี, อิสตาน่า อาบู บาการ์, เปกัน, ปะหัง ดารุล มากมูร์ ในรัฐปะหัง ประเทศมาเลเซีย ซึ่งนายวิจิตร เป็นบุคคลที่ 3 ที่ได้รับพระราชทานตำแหน่งดาโต๊ะ ต่อจาก ดร.[[โจอัว ฮาเวลานจ์]] อดีตประธานฟีฟ่า และ[[เซปป์ แบล๊ตเตอร์]] ประธานฟีฟ่าคนปัจจุบัน โดยนายวิจิตรให้สัมภาษณ์หลังรับพระราชทานตำแหน่งดาโต๊ะว่า "ตลอดเวลา 30 กว่าปี ที่ผมอยู่กับวงการฟุตบอลมา มีหลายเรื่องที่ผมโดนกลั่นแกล้ง โดนปรักปรำ โดนใส่ร้าย ใส่ความมาตลอด ซึ่งผมไม่เคยปริปากเอ่ยให้ใครฟัง มาวันนี้สวรรค์มีตา หากผมเป็นคนไม่ดีจริง คงไม่มีใครมอบรางวัลที่มีเกียรติอย่างดาโต๊ะให้หรอก"{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
 
=== ลาออกจากนายกสมาคมฟุตบอลฯ ===
เมื่อวันที่ [[8 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2550]] [[ชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์|นายชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์]] ให้สัมภาษณ์ว่า ตนได้[[โทรศัพท์]]สอบถามนายวิจิตร ถึงกรณีที่มีข่าวว่า นายวิจิตรได้ยื่นใบลาออกจากการเป็นนายกสมาคมฟุตบอลฯ แล้ว ซึ่งนายวิจิตรตอบตนว่าเป็นความจริง โดยให้เหตุผลว่า ไม่สามารถพัฒนาผลงานของสมาคมฯ ได้มากไปกว่านี้อีกแล้ว จึงเปิดโอกาสให้สมาคมฯ ได้เฟ้นหานายกสมาคมฯ คนใหม่ เพื่อมาช่วยพัฒนาสมาคมฯ ให้ดียิ่งขึ้นไปกว่าที่ตนได้ทำไว้
 
== วงการการเมือง ==
นายวิจิตร ลงสมัครรับ[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2548|เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] เขต 2 [[จังหวัดสุพรรณบุรี]] ในนาม[[พรรคไทยรักไทย]] เมื่อวันที่ [[6 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2548]] แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2553]] ได้เข้าร่วมกับ[[วนัสธนา สัจจกุล|นายวนัสธนา สัจจกุล]] หรือบิ๊กหอย จัดตั้งพรรคการเมืองขึ้น โดยมีชื่อว่า "[[พรรคพลังคนกีฬา]]" โดยมีนโยบายมุ่งพัฒนาการกีฬาของชาติ
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==