ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปืน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
A Lee noy (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ชนิดของปืน: ยิงเล่นๆ
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ลบข้อความที่คัดลอกมา
บรรทัด 1:
{{ขาดอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Uss iowa bb-61 pr.jpg|250px|right|thumb|ยูเอสเอส ไอโอว่า ยิงปืนขณะทำการฝึกยิงใกล้เกาะวีคูส์ เปอร์โต ริโค เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 1984]]
'''ปืน''' คือ[[อาวุธ]]สำหรับยิงลูกกระสุนปืน เพื่อให้เข้าสู่เป้าหมาย โดยอาศัยหลักการเผาไหม้ของ[[ดินปืน]]ให้เกิดแก๊สผลักดันลูกกระสุนให้ออกจากปากลำกล้องด้วยความเร็วสูง ลูกกระสุนที่ออกจากปากลำกล้องจะการเคลื่อนที่ในแนววิถีราบ ส่วนปืนที่มีขนาดใหญ่ เช่น ปืนใหญ่นิยมใช้การเคลื่อนที่วิถีโค้ง
 
ปืนมีทั้งที่เป็นอาวุธประจำกายเช่น [[ปืนสั้น]] [[ปืนลูกซอง]] ปืนไรเฟิล [[ปืนกล]] หรือ เป็นอาวุธติดตั้งกับพาหนะเช่น ปืนใหญ่รถถัง ปืนกลอากาศในเครื่องบิน ปืนประจำเรือ หรือเป็นอาวุธหนักในสนามรบเช่น [[ปืนใหญ่]]
 
<br />
 
== ประวัติอาวุธปืน ==
เส้น 10 ⟶ 9:
 
== ชนิดของปืน ==
* [[ปืนกลมือ]] เช่น HK MP5 HK UMP9
* [[ปืนกลหนัก]] เช่น M1 BLOWNING
* [[ปืนกลอากาศ]]
* [[ปืนแก๊ป]]
ประโยชน์ของเลเซอร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นมา ไม่ใช่เพียงแค่ใช้ในเชิงพาณิชย์เท่านั้น แต่ยังมีการพัฒนานำไปใช้เพื่องานทางด้านทหาร ซึ่งมักถูกเรียกว่า “laser weapon” ที่ใช้งานควบคู่กับขีปนาวุธ มีการนำเอามาพัฒนารวมกัน กลายเป็นอาวุธที่ใช้ทำลายด้วยลำแสงเลเซอร์ ซึ่งมีหลากหลายประเทศที่พยายามนำมาใช้มากขึ้น เช่น สหรัฐอเมริกา, อินเดีย, อิสราเอล, รัสเซีย, อังกฤษ และจีน เป็นต้น
 
ข้อมูลการใช้อาวุธเลเซอร์เท่าที่เคยเปิดเผย
การใช้ nuclear pump x-ray laser ในโครงการ Excalibur ของประเทศสหรัฐอเมริกา
เมื่อปี ค.ศ. 1984โซเวียตมีการประดิษฐ์ ปืนเลเซอร์แบบพกพา ที่เรียกว่า handheld laser weapon มีวัตถุประสงค์ที่ต้องการให้กับคนที่อยู่บนอวกาศใช้ โดยมีนัยเป็นลักษณะของสงครามเย็น
เมื่อวันที่ 18 มีนาคม ค.ศ.2009 บริษัท Northrop Grumman ทำการประกาศว่าสามารถผลิต electric laser ที่มีขนาด 100 กิโลวัตต์ได้ ซึ่งเพียงพอที่จะนำไปใช้ทำลายจรวดขีปนาวุธกันได้เลยทีเดียว
เมื่อวันที่ 6 เมษายน ค.ศ.2011 กองทัพเรือสหรัฐได้มีการทดสอบปืนเลเซอร์ ซึ่งมี Northrop Grumman เป็นบริษัทผู้ผลิต และทำการติดตั้งบนเรือรบ USS Paul Foster
เมื่อวันที่ 15 มีนาคม ค.ศ.2007 กองทัพอากาศสหรัฐ ได้ทำการทดสอบยิงเลเซอร์ที่มีพลังงานสูง เป็นการยิงจากเครื่องบินที่ติดตั้งเครื่องยิงเลเซอร์น้ำหนัก 3 ตันเอาไว้ได้เป็นผลสำเร็จ โดยการทดสอบครั้งนี้ใช้กับเครื่องบินโบอิ้งที่เรียกชื่อว่า “Boeing YAL-1” ซึ่งก็คือเจ้าโบอิ้ง 747 นั่นเอง1.การใช้ nuclear pump x-ray laser ในโครงการ Excalibur ของประเทศสหรัฐอเมริกา
เมื่อปี ค.ศ. 1984 โซเวียตมีการประดิษฐ์ ปืนเลเซอร์แบบพกพา ที่เรียกว่า handheld laser weapon มีวัตถุประสงค์ที่ต้องการให้กับคนที่อยู่บนอวกาศใช้ โดยมีนัยเป็นลักษณะของสงครามเย็น
เมื่อวันที่ 18 มีนาคม ค.ศ.2009 บริษัท Northrop Grumman ทำการประกาศว่าสามารถผลิต electric laser ที่มีขนาด 100 กิโลวัตต์ได้ ซึ่งเพียงพอที่จะนำไปใช้ทำลายจรวดขีปนาวุธกันได้เลยทีเดียว
เมื่อวันที่ 6 เมษายน ค.ศ.2011 กองทัพเรือสหรัฐได้มีการทดสอบปืนเลเซอร์ ซึ่งมี Northrop Grumman เป็นบริษัทผู้ผลิต และทำการติดตั้งบนเรือรบ USS Paul Foster
เมื่อวันที่ 15 มีนาคม ค.ศ.2007 กองทัพอากาศสหรัฐ ได้ทำการทดสอบยิงเลเซอร์ที่มีพลังงานสูง เป็นการยิงจากเครื่องบินที่ติดตั้งเครื่องยิงเลเซอร์น้ำหนัก 3 ตันเอาไว้ได้เป็นผลสำเร็จ โดยการทดสอบครั้งนี้ใช้กับเครื่องบินโบอิ้งที่เรียกชื่อว่า “Boeing YAL-1” ซึ่งก็คือเจ้าโบอิ้ง 747
ระบบ LaWS ได้ถูกสร้างขึ้นในกองทัพเรือสหรัฐ ซึ่งมีชื่อเต็มๆ ว่า Laser Weapon System โดยมีการติดตั้งเอาไว้บนเรือรบ USS Ponce โดยมีบริษัท Kratos Defense & Security Solutions เป็นผู้ผลิต นับแต่งแต่ปี ค.ศ.2014 ลักษณะของระบบมีการใช้ลำแสงอินฟราเรดที่ส่งตรงมาจาก solid-state laser มีการคำนวณค่าใช้จ่ายในการยิงแบบนัดต่อนัด พบว่ามีราคาถูกกว่ากระสุนโลหะหลายเท่า โดยประมาณหากเทียบการยิง 1 นัดมีค่าเท่ากับ 1 เหรียญสหรัฐเท่านั้น ต่างจากขีปนาวุธขนาดใหญ่ 1 นัด ในราคาสูงลิ่วหลายพันดอลลาร์กันเลยทีเดียว ที่สำคัญไม่ต้องกังวลว่ากระสุนจะหมด สามารถควบคุมการยิงว่าจะเน้นทำลาย หรือยิงขู่แค่เตือนๆ เท่านั้น ก็สามารถทำได้อย่างแม่นยำ อาวุธตามแบบบางชนิด
CCW เป็นคำย่อมาจาก “The Convention on Certain Conventional Weapons” ซึ่งหมายถึง “อนุสัญญาว่าด้วยการห้ามใช้อาวุธตามแบบบางชนิด” หรือ “อนุสัญญาว่าด้วยการห้ามใช้อาวุธตามแบบบางชนิดที่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บร้ายแรงเกินความจำเป็นหรือก่อให้เกิดผลโดยไม่จำกัดเป้าหมาย” เป็นอนุสัญญาฯ ที่มีการรับรองจากที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยที่ 34 เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ.2523 โดยมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ.2526
 
โดนในอนุสัญญาฯ ทุกประเทศได้ร่วมเป็นรัฐภาคี ซึ่งต้องทำการจำกัดอาวุธบางส่วนที่จะส่งผลให้เกิดความเสียหายร้ายแรง ทำให้บาดเจ็บหนัก ส่งผลมากเกินความจำเป็นต่อกำลังรบโดยที่ไม่มีการแบ่งแยกพลเรือน
 
มาถึงในส่วนของพิธีสารฉบับที่ 4 ชื่อว่า “Protocol on Blinding Laser Weapons” ได้รับรองไว้เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.2538 ผลการบังคับใช้ต่อรัฐภาคีเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการห้ามใช้อาวุธที่พัฒนามาจากลำแสงเลเซอร์ที่จะทำให้เกิดอาการตาบอดถาวร โดยพิธีสารดังกล่าวมีประเทศที่เข้าร่วมด้วยกันทั้งหมด 105 ประเทศ
 
อันตรายจากลำแสงเลเซอร์ที่ส่งผลให้ตาบอดถาวรได้
ในปัจจุบันเลเซอร์มีการพัฒนาขึ้นมาหลายสีมากกว่าในอดีต ซึ่งสีแดง สีฟ้า และสีเขียว ถือว่าเป็นเลเซอร์ที่มีพลังทำลายล้างสูงมาก กรณีเช่นนี้เสี่ยงที่จะทำให้ดวงตาบอดสนิทได้ทันทีที่กระทบเพียงแค่เสี้ยววินาที ความน่ากลัวของเลเซอร์โดยเฉพาะแสงสีฟ้า ยังมีอานุภาพที่ร้ายแรงระดับที่เผาไหม้ผิวหนังได้
 
แม้จะมีการพยายามป้องกันไม่ให้ใช้อาวุธเลเซอร์ แต่ก็เป็นเรื่องยากที่จะตรวจสอบได้แน่ชัด เนื่องจากรูปแบบของอาวุธ อาจผลิตออกมาในรูปแบบของปากกาหรือพวงกุญแจ ความปลอดภัยของลำแสงเลเซอร์ หากมีกำลังน้อยกว่า 5 มิลลิวัตต์ ส่วนใหญ่เมื่อส่องเข้าตาจะสามารถหันหน้าหนีทันโดยไม่ก่อให้เกิดอันตราย แต่หากมีพอยเตอร์เกินกว่านี้ แม้การกระพริบตาหรือเบือนหน้านี้ ก็จะไม่สามารถป้องกันได้ดีเท่าที่ควร ส่งผลให้เกิดอันตรายตามมาได้แม้จะเพียงชั่วขณะที่กระทบดวงตาเท่านั้น
 
ไม่ใช่แค่สีฟ้า สีแดง และสีเขียวของเลเซอร์ที่มีพลังงานสูง ลำแสงสีม่วงและน้ำเงิน อาจจะมีผลกระทบที่รุนแรงมากกว่าได้ เนื่องจากปัจจัยด้านความไวแสงที่น้อยกว่า หากกระทบดวงตาจะทำให้หันหน้าหนีได้ช้ากว่าแสงสีแดงหรือเขียว เพราะฉะนั้นหากพบแม้จะเป็นพอยเตอร์ทั่วๆ ไป ก็ควรเลี่ยงไม่ส่องโดยตรง หรือส่องสะท้อนเข้าดวงตา เนื่องจากไม่มีทางทราบได้เลยว่ามันจะส่งผลเสียหายต่อดวงตาหรือไม่
แสงเลเซอร์ที่มีกำลังสูง ยกตัวอย่างเช่น การนำเอาลำแสงเลเซอร์ไปใช้ในการตัดเหล็กที่มีความแข็ง หรือการแกะสลักเหล็กก็สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ แต่ด้วยความเข้มข้นสูง มันจึงเป็นตัวการที่จะทำให้เกิดอันตรายต่อผิวหนังได้ ซึ่งสิ่งที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายมากที่สุดเมื่อเกิดความผิดพลาด ลำแสงยิงเข้าสู่ดวงตา ซึ่งเป็นอวัยวะที่มีความไวต่อแสงมากที่สุดในร่างกาย เลนส์แก้วตาที่ทำหน้าที่รวมแสงให้เกิดการโฟกัสบนเรติน่า ยังเพิ่มระดับความเข้มข้นของแสงเลเซอร์ให้สูงมากกว่าเป็น 1 แสนเท่าอีกด้วย แน่นอนว่าผลกระทบที่ตามมามีความเสี่ยงสูงที่จะทำให้ตาบอดได้
 
หากลองเปรียบเทียบกับการมองแสงอาทิตย์โดยตรงด้วยตาเปล่าเพียงชั่วครู่เท่านั้น ก็จะรู้สึกว่าดวงตามืดสนิทไปชั่วขณะ แต่หากเป็นแสงเลเซอร์ที่มีความเข้มในระดับนี้ แน่นอนว่าอัตราที่จะทำให้เกิดตาบอดเป็นไปได้สูงมาก อย่างไรก็ตามยังมีอีกหลายปัจจัยที่ไม่ใช่แค่เรื่องของความเข้มแสงเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงความยาวคลื่นแสง และระยะเวลาที่ดวงตาได้รับแสง
 
ความยาวคลื่นแสงเลเซอร์ กับผลกระทบต่อดวงตา
ปัจจัยในด้าน “ความยาวคลื่นแสง” ซึ่งถือว่าเป็นอีกหนึ่งผลกระทบที่สำคัญไม่น้อย และเป็นเรื่องที่ควรทำความเข้าใจ โดยทั่วไปดวงตามนุษย์จะสามารถมองเห็นแสงที่มีความยาวคลื่นได้ในช่วง 400-700 นาโนเมตร แต่ความยาวคลื่นในช่วงอื่น แม้จะมองเห็นได้หรือมองไม่เห็น ก็สามารถส่งผลเสียต่อดวงตาได้เช่นเดียวกัน โดยปกติแสงในช่วง 400-1,500 นาโนเมตร จะเป็นระดับแสงที่สายตามองเห็นได้ ยิ่งเป็นแสงอินฟาเรดที่มองไม่เห็น จะสามารถส่องทะลุจากเลนส์ตาเข้าสู่เรติน่าได้อีกด้วย โดยไม่กำหนดว่าจะมีความเข้มมากน้อยแค่ไหน แม้จะมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า แต่จะทำให้เรติน่าเกิดอันตรายตามมา เปรียบเทียบเช่นเดียวกันกับคาร์บอนไดออกไซด์เลเซอร์ ซึ่งจะอยู่ในช่วงอินฟราเรดที่ใช้ตัดผ้าหรือเจาะไหม้ได้
 
ส่วนแสงที่อยู่ในช่วงอัลตราไวโอเลต จะเป็นแสงที่มีความยาวคลื่น 100-400 นาโนเมตร หากกระทบดวงตา จะไม่ทะลุไปถึงชั้นเรติน่า แต่ก็ส่งผลให้เกิดอันตรายต่อเลนส์ตาส่วนนอกและแก้วตา ร้ายแรงถึงขั้นตาบอดถาวร
ปัจจัยในเรื่องระยะห่างจากแหล่งกำเนิดแสง ก็มีผลกระทบต่อดวงตาเช่นเดียวกัน หากระยะของแสงเลเซอร์กระทบกับดวงตาในระยะที่แตกต่างกัน ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นก็จะต่างกันออกไปด้วย แต่ถึงกระนั้นผลที่เกิดขึ้นก็จะทำให้เกิดอันตรายไม่แพ้กัน เนื่องจากแสงเลเซอร์มีคุณสมบัติแตกต่างจากแสงอื่นที่สำคัญ คือ แสงจะมีลักษณะเป็นลำค่อนข้างดี จะรวมเป็นโฟกัสเดียวกัน ไม่ค่อยบานออก ส่งผลให้ความเข้มข้นของแสงสม่ำเสมอ แม้จะอยู่ในระยะใดก็ตาม เรียกได้ว่าระยะแทบจะไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของความเข้ม กรณีที่แสงเลเซอร์ไปกระทบผิววัสดุที่เกิดความขรุขระ แสงที่สะท้อนจะมีการแปรสภาพลดลำแสงลงไปเล็กน้อย ทำให้เกิดการบานออกไปค่อนข้างเร็ว หากอยู่ห่างจากจุดสะท้อน จะช่วยลดอันตรายจากแสงที่กระทบต่อดวงตาให้น้อยลงได้ แต่หากแสงกระทบกับโลหะเรียบๆ หรือกระจก ความเข้มของแสงเลเซอร์จะยังคงเท่าเดิม แน่นอนวาจะก่อให้เกิดอันตรายตามมาไม่ต่างจากการมองลำแสงตรงๆ แต่อย่างใด
 
การหลีกเลี่ยงไม่ให้แสงเลเซอร์ส่องกระทบดวงตา
ด้วยอันตรายที่กล่าวไปข้างต้นของแสงเลเซอร์ จึงจำเป็นต้องหาทางหลีกเลี่ยงการมองแสงเลเซอร์ตรงๆ เพราะบางครั้งเหตุการณ์ไม่คาดคิดก็สามารถเกิดขึ้นได้แม้พยายามหลีกเลี่ยง โดยมักจะพบว่ามันเกิดขึ้นจากการสะท้อนมากระทบดวงตาโดยไม่รู้ตัว เพราะลืมป้องกันตัวสะท้อน ไปจนถึงช่วงของแสงที่ดวงตามนุษย์มองไม่เห็น เพราะฉะนั้น การป้องกันที่ช่วยลดความเสี่ยงควรทำดังต่อไปนี้
 
ทำการจัดทางเดินแสงเลเซอร์ให้มีความเหมาะสม เช่น ไม่ให้แสงอยู่ในระดับเดียวกับสายตา อาจเลือกให้สูงหรือต่ำกว่าระดับสายตาจะดีกว่า
หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะเป็นตัวสะท้อนที่มีอยู่รอบๆ กำจัดมันออกไปให้ห่างจากแนวลำแสง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการสะท้อนหักเหเข้าสู่ดวงตา
ใช้เครื่องมือป้องกัน เช่น แว่นตาที่ออกแบบมาเป็นพิเศษ ตัวแว่นจะช่วยลดความเข้มแสงในระดับที่ไม่ส่งผลให้ดวงตาเสียหาย โดยแว่นที่ใช้งานก็จะแตกต่างกันออกไปตามระดับความสามารถในการป้องกัน ขึ้นอยู่กับว่าเป็นแสงเลเซอร์ในคลื่นความยาวระดับไหน มีความเข้มแค่ไหนด้วย จะได้ช่วยลดความเข้มของตัวแสงเลเซอร์ให้ปลอดภัยต่อดวงตามากที่สุด
ให้ระมัดระวังมากขึ้น ถ้าเลเซอร์ที่ใช้งานอยู่ในย่านความถี่ที่ดวงตาไม่สามารถมองเห็นได้ เช่น ในช่วงอินฟราเรด และอัลตราไวโอเลต หากกระทบดวงตา จะทำให้ตาบอดถาวรได้
ด้วยระดับความเข้มของแสงเลเซอร์ที่เป็นเส้นตรง ส่งผลกระทบอันตรายร้ายแรงต่อดวงตาได้ง่าย โดยเฉพาะในช่วงความยาวคลื่นที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ดังนั้นจำให้ขึ้นใจอยู่เสมอว่า เลเซอร์เป็นลำแสงที่มีอันตรายสูง ควรใช้อย่างระมัดระวัง ควรมีการจัดแบ่งห้องให้เป็นสัดส่วน สำหรับใช้งานแสงเลเซอร์โดยเฉพาะ ใช้ป้ายเตือนในบริเวณที่อาจมีแสงเลเซอร์ยิงผ่าน และรอบๆ ห้องที่ใช้งาน เพื่อบอกให้บุคคลทั่วไประมัดระวังไม่เข้าใกล้ ส่วนผู้ที่ทำงานกับแสงเลเซอร์ อย่าคิดว่าป้องกันดีแล้ว ใช้งานด้วยความประมาท มิเช่นนั้นการไม่ระมัดระวัง ก็เท่ากับอันตรายที่อยู่ใกล้แค่เอื้อม
[[ปืนแก๊ป]]
* [[ปืนต่อสู้รถถัง]]
* [[ปืนต่อสู้อากาศยาน]]
เส้น 62 ⟶ 18:
* [[ปืนใหญ่รถถัง]]
* [[ปืนใหญ่]]
* [[ปืนสั้น]] เช่น G(pistol)
*GG
* [[ปืนลูกโม่]] (revolver)
* [[ปืนไรเฟิล]]
เส้น 70 ⟶ 25:
* [[ปืนลูกซอง]] (shotgun)
* [[ปืนเลเซอร์]]
* [[ปืนยิงลูกระเบิด]] (grenade luncherlauncher)
* [[ปืนครก]]
* [[ปืนยิงพลุ]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ปืน"