ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 223.206.205.230 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย 77.10.58.168
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล พิพิธภัณฑ์
'''พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์''' ตั้งอยู่ภายใน [[พระนารายณ์ราชนิเวศน์]] เขตตำบลท่าหิน [[อำเภอเมืองลพบุรี]] [[จังหวัดลพบุรี]]
*| [http://www.thailandmuseum.com/narayana/narayana.htm/ชื่อพิพิธภัณฑ์ = พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ลพบุรี]
| ชื่อภาษาอื่น = Somdet Phra Narai National Museum
| ภาพ = พระนารายณ์ราชนิเวศน์ อ.เมือง จ.ลพบุรี (25).JPG
| คำบรรยายภาพ = พิพิธภัณฑ์ในส่วนพระที่นั่งพิมานมงกุฎ
| ก่อตั้ง = 11 ตุลาคม พ.ศ. 2467
| ประเภทสิ่งสะสม = โบราณวัตถุในจังหวัดลพบุรี<ref>{{cite web | url = https://thailandtourismdirectory.go.th/en/info/attraction/detail/itemid/1538 |title = Somdet Phra Narai National Museum | date =| publisher = Thailand Tourism Directory |accessdate= 30 สิงหาคม 2562}}</ref>
| สิ่งที่น่าสนใจ =
| ผู้อำนวยการ =
| ผู้ดูแล = [[กรมศิลปากร]]
| จำนวนผู้เข้าชม =
'''พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ| สมเด็จพระนารายณ์'''ที่ตั้ง ตั้งอยู่ภายใน = ภายใน[[พระนารายณ์ราชนิเวศน์]]<br>ถนนสรศักดิ์ เขตตำบลท่าหิน [[อำเภอเมืองลพบุรี]] [[จังหวัดลพบุรี]]
| ประเทศที่ตั้ง = {{flag|ไทย}}
| การคมนาคม =
| พิกัดภูมิศาสตร์ =
| เว็บไซต์ =
| หมายเหตุ =
}}
 
'''พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์''' เดิมชื่อ '''ลพบุรีพิพิธภัณฑสถาน''' เป็นพิพิธภัณฑ์แห่งหนึ่งตั้งอยู่ภายใน[[พระนารายณ์ราชนิเวศน์]] ตำบลท่าหิน [[อำเภอเมืองลพบุรี]] [[จังหวัดลพบุรี]] มีการแบ่งส่วนจัดแสดงออกเป็นสามอาคาร ได้แก่ พระที่นั่งพิมานมงกุฎ พระที่นั่งจันทรพิศาล และหมู่ตึกพระประเทียบ<ref name="เทพสตรี">{{cite web | url = http://library.tru.ac.th/inlop/lptour/182-lptupp01.html |title = พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสมเด็จพระนารายณ์ | date =| publisher = สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี |accessdate= 30 สิงหาคม 2562}}</ref> ในอาคารเหล่านี้ได้จัดแสดงโบราณวัตถุตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์จนถึงยุครัตนโกสินทร์ที่พบภายในจังหวัดลพบุรีและใกล้เคียง รวมทั้งมีการจัดแสดงวิถีชีวิตของคนในลุ่มน้ำภาคกลาง<ref>''หนังสือนำชมพระนารายณ์ราชนิเวศน์'', หน้า 100-102</ref><ref name="มิวเซียม">{{cite web | url = https://www.museumthailand.com/th/museum/Somdet-Phra-Narai-National-Museum |title = พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ | date =| publisher = มิวเซียมไทยแลนด์ |accessdate= 30 สิงหาคม 2562}}</ref>
==ประวัติ==
 
พระนารายณ์ราชนิเวศน์ เป็นพระราชวังที่[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]โปรดให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2209 บนพื้นที่ 41 ไร่ ณ เมืองลพบุรี เพื่อใช้เป็นที่ประทับ ล่าสัตว์ ออกว่าราชการ และต้อนรับแขกเมือง พระองค์ทรงประทับ ณ [[พระราชวัง]]8-9 เดือนในช่วงปลายรัชกาลและเสด็จสวรรคต ณ พระที่นั่งสุทธาสวรรค์ เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2231ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช [[พระนารายณ์ราชนิเวศน์]]ถูกทิ้งร้าง จนถึงรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระองค์โปรดให้บูรณะพระราชวังของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และสร้าง[[พระที่นั่ง]]ขึ้นใหม่ในปี พ.ศ. 2399 และพระราชทานนามว่า '"พระนารายณ์ราชนิเวศน์''' และรัฐบาลใช้เป็นศาลากลางจังหวัด และต่อมา [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] และสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ ได้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ขึ้นที่พระที่นั่งจันทรพิศาลในพระนารายณ์ราชนิเวศน์ เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2467 เรียกว่า ลพบุรีพิพิธภัณฑสถาน และในปี พ.ศ. 2504 จึงได้ประกาศเปลี่ยนชื่อเป็น [[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ]] สมเด็จพระนารายณ์ ปัจจุบันได้จัดแสดงศิลปโบราณวัตถุตามอาคารและพระที่นั่งต่างๆ ภายในพิพิธภัณฑ์เป็นจำนวนกว่า 1,864 รายการ
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ เปิดวันพุธ-วันอาทิตย์ เวลา 09.00-16.00 น. เสียค่าเข้าชมในอัตราชาวไทย 30 บาท และชาวต่างประเทศ 150 บาท กรณีนักเรียนนักศึกษาในเครื่องแบบ ผู้สูงอายุ และนักบวชไม่เสียค่าธรรมเนียม<ref name="มิวเซียม" />
[[ไฟล์:Lopbprnivet0306b.jpg|thumb|rigth|360px|พระที่นั่งพิมานมงกุฎ]]
 
== ประวัติ ==
เมื่อครั้งที่[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] และ[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]]ไปตรวจราชการที่เมืองลพบุรี ทรงพบว่ามีโบราณวัตถุกระจายอยู่เป็นจำนวนมาก ทรงมอบหมายให้ศาสตราจารย์ [[ยอร์ช เซเดส์]] นักวิชาการผู้มีชื่อเสียงชาวฝรั่งเศส ดำเนินการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์เพื่อจัดแสดงโบราณวัตถุและศิลปะวัตถุขึ้น โดยใช้พื้นที่ของพระที่นั่งจันทรพิศาลภายในพระนารายณ์ราชนิเวศน์สำหรับจัดแสดง<ref name="เทพสตรี" /> ใช้ชื่อว่า '''ลพบุรีพิพิธภัณฑสถาน''' เปิดให้เข้าชมครั้งแรกเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2467 ต่อมาได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็น '''พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์''' เมื่อ พ.ศ. 2504<ref>''หนังสือนำชมพระนารายณ์ราชนิเวศน์'', หน้า 96</ref>
 
==การจัดแสดง==
===พระที่นั่งพิมานมงกุฎ===
[[ไฟล์:Hilight05Lopbprnivet0306b.jpg|thumb|rigth|280360px|พระพุทธรูปศิลปะเขมรในลพบุรีที่นั่งพิมานมงกุฎ]]
[[ไฟล์:WaterBuffaloLopburiThailand2300BCE.jpg|thumb|rigth|170px|ภาชนะดินเผารูปวัว สมัยก่อนประวัติศาสตร์]]
[[ไฟล์:Narayana12.jpg|thumb|rigth|170px|ภาพราชทูตฝรั่งเศส ถวายพระราชสาสน์ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]
'''พระที่นั่งพิมานมงกุฎ''' เป็นอาคารสูง 3 ชั้น สร้างขึ้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสถาปัตยกรรมแบบ[[จีน]] สำหรับเป็นที่ประทับส่วนพระองค์ ปัจจุบันได้จัดแสดงนิทรรศการถาวร 7 เรื่องด้วยกัน ได้แก่ การจัดแสดงนิทรรศการถาวร 2 เรื่อง คือเรื่องสมัยก่อนประวัติศาสตร์แถบ[[ภาคกลาง]] ลุ่ม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] เมื่อประมาณ 3,500 - 4,000 ปีมาแล้ว จัดแสดงโบราณวัตถุที่พบจากการขุดค้นที่[[แหล่งโบราณคดี]] ในจังหวัดลพบุรี ได้แก่ แหล่งโบราณคดีบ้านท่าแค แหล่งโบราณคดีบ้านโคกหม้อ แหล่งโบราณคดีบ้านดงมะรุม [[แหล่งโบราณคดีบ้านพรหมทินใต้]] และ [[แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว]] เช่น โครงกระดูกมนุษย์ ภาชนะดินเผา เครื่องมือ เครื่องใช้ที่ทำจากโลหะ และเครื่องประดับที่ทำจากหินและเปลือก[[หอย]] เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีห้องจัดแสดงโบราณคดีบ้านท่าแค จ. ลพบุรี ที่มีอายุประมาณ 3,500 - 1,000 ปี
 
เส้น 34 ⟶ 53:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* [http://www.thailandmuseum.com/narayana/narayana.htm/ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ลพบุรี]
 
{{พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ (ประเทศไทย)}}