ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาไทยถิ่นเหนือ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
| region = ภาคเหนือตอนบนของไทย
| speakers = 6 ล้านคน<ref name="Ethnologue">{{Citation |last=Lewis |first=M. Paul |year=2009 |title=Ethnologue: Languages of the World |edition=16 |publisher=SIL International |url=http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=nod}}</ref>
| fam1 = [[ตระกูลภาษาไทขร้า-กะได|ไท|ขร้า-กะไดไท]]
| fam2 = [[กลุ่มภาษากัม-ไท|กัม-ไท]]
| fam3 = [[กลุ่มภาษาเบ-ไท|เบ-ไท]]
บรรทัด 21:
| iso3=nod}}
 
'''คำเมือง''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:Lanna-Kham_Mueang.png|40px]] }}), [กำเมือง]) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า '''ภาษาถิ่นภาคพายัพ'''<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า (10)</ref> เป็น[[ภาษาถิ่น]]ของชาว[[ไทยวน]]ทาง[[ภาคเหนือ (ประเทศไทย)|ภาคเหนือ]]ตอนบนของ[[ประเทศไทย]] ซึ่งเป็น[[อาณาจักรล้านนา]]เดิม ได้แก่ [[จังหวัดเชียงใหม่|เชียงใหม่]], [[จังหวัดเชียงราย|เชียงราย]], [[จังหวัดอุตรดิตถ์|อุตรดิตถ์]], [[จังหวัดแพร่|แพร่]], [[จังหวัดน่าน|น่าน]], [[จังหวัดแม่ฮ่องสอน|แม่ฮ่องสอน]], [[จังหวัดลำพูน|ลำพูน]], [[จังหวัดลำปาง|ลำปาง]], [[จังหวัดพะเยา|พะเยา]] และยังมีการพูดและการผสมภาษากันในบางพื้นที่ของจังหวัด[[จังหวัดตาก|ตาก]], [[จังหวัดสุโขทัย|สุโขทัย]] และ[[จังหวัดเพชรบูรณ์|เพชรบูรณ์]] ปัจจุบันกลุ่มคนไทยวนได้กระจัดกระจายและมีถิ่นที่อยู่ใน[[จังหวัดสระบุรี]], [[จังหวัดราชบุรี]] และอำเภอของจังหวัดอื่นที่ใกล้เคียงกับราชบุรีอีกด้วย
 
คำเมืองยังสามารถแบ่งออกเป็นสำเนียงล้านนาตะวันตก (ในจังหวัด[[เชียงใหม่]], [[ลำพูน]] และ[[แม่ฮ่องสอน]]) และสำเนียงล้านนาตะวันออก (ในจังหวัด[[เชียงราย]], [[พะเยา]], [[ลำปาง]], [[อุตรดิตถ์]], [[แพร่]] และ[[น่าน]]) ซึ่งจะมีความแตกต่างกันบ้าง คือ สำเนียงล้านนาตะวันออกส่วนใหญ่จะไม่พบสระเอือะ เอือ แต่จะใช้สระเอียะ เอียแทน (มีเสียงเอือะและเอือเพียงแต่คนต่างถิ่นฟังไม่ออกเอง เนื่องจากเสียงที่ออกมาจะเป็นเสียงนาสิกใกล้เคียงกับเอียะ เอีย)