ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 43:
}}
'''พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560''' เป็น[[กฎหมายไทย]] ประเภท[[พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)|พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ]] ซึ่ง[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]]เป็นผู้ตราขึ้น โดย[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร]] [[พระมหากษัตริย์ไทย|พระมหากษัตริย์]] ทรงลงพระปรมาภิไธยเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2560 และประกาศลงใน[[ราชกิจจานุเบกษา]]เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2560 และมีผลใช้บังคับในวันถัดมา
 
พระราชบัญญัติดังกล่าวมีใจความสำคัญปรับเปลี่ยนกฎหมายที่ควบคุมพรรคการเมืองหลายอย่าง ซึ่งโดยรวมแล้วทำให้พรรคการเมืองอ่อนแอลง ตั้งยากขึ้น ยุบง่ายขึ้น โดยมีความมุ่งหมายตามอ้างเพื่อรักษาการปกครองระบอบ[[ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] ป้องกันพรรคนอมินี และทำให้ประชาชนมีส่วนร่วมกับพรรคการเมืองมากขึ้น
 
== การร่าง ==
เส้น 53 ⟶ 55:
ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญฯ กำหนดให้สมาชิกผู้ร่วมก่อตั้งพรรคร่วมจ่ายทุนประเดิม และให้สมาชิกพรรคการเมืองจ่ายค่าบำรุงพรรคการเมืองรายปีเพื่อให้ประชาชนร่วมเป็นเจ้าของพรรคการเมือง และห้ามบุคคลที่ไม่ใช่สมาชิกพรรคเข้ามาควบคุม ครอบงำหรือชี้นำการดำเนินกิจการของพรรคการเมือง เพื่อป้องกันการเกิด "พรรคนอมินี" ซึ่งเป็นเหตุของ[[คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549]] และ[[คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551]] พรรคการเมืองที่ไม่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้ง 2 ครั้งติดต่อกันจะถูกยุบพรรค และพรรคการเมืองใดที่นำมวลชนไปชุมนุมข้างถนนอาจเข้าข่ายล้มล้างการปกครองซึ่งมีโทษยุบพรรค<ref name="bbc"/>
 
นโยบายหาเสียงของพรรคการเมืองต้องแจ้งวงเงินที่จะใช้ แหล่งทุน ความคุ้มค่า และความเสี่ยงในการดำเนินนโยบายต่อ[[คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)|คณะกรรมการการเลือกตั้ง]] (กกต.) ซึ่ง[[พรรคเพื่อไทย]]ตั้งคำถามว่า "จะทำให้กกต. กลายเป็นผู้เห็นชอบนโยบายของพรรคการเมืองหรือไม่"<ref name="bbc"/> นอกจากนี้ ยังเพิ่มบทบาทของ กกต. ให้สามารถขอความร่วมมือจาก[[สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน]]และ[[สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน]] ให้ดูเส้นทางการเงินของผู้ที่ซื้อสิทธิ์ขายเสียงได้ และนำหลักฐานนั้นไปดำเนินคดีกับทั้ง 2 ฝ่ายได้ รวมถึงสามารถขอความคุ้มครองพยานจากคดีการเลือกตั้งได้<ref name="bbc"/>
 
นอกจากนี้ ยังเพิ่มบทบาทของ กกต. ให้สามารถขอความร่วมมือจาก[[สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน]]และ[[สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน]] ให้ดูเส้นทางการเงินของผู้ที่ซื้อสิทธิ์ขายเสียงได้ และนำหลักฐานนั้นไปดำเนินคดีกับทั้ง 2 ฝ่ายได้ รวมถึงสามารถขอความคุ้มครองพยานจากคดีการเลือกตั้งได้<ref name="bbc"/>
 
อย่างไรก็ตาม ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญฯ ไม่มีการบังคับให้พรรคการเมืองที่มีอยู่เดิม 72 พรรคไปจดทะเบียนตั้งพรรคการเมืองใหม่<ref name="bbc"/>