ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรมหลวงพิพิธมนตรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 8162238 สร้างโดย 171.98.104.254 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{infobox royalty
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| death_date =พ.ศ. 2301
| name = กรมพระเทพามาตุ
| พระอิสริยยศsuccession = [[กรมพระเทพามาตย์|กรมพระเทพามาตุ]]
| ภาพ =
| reign = พ.ศ. 2301
| พระบรมนามาภิไธย =
| namepredecessor = [[กรมพระเทพามาตุมาตย์ (กัน)]]
| พระนามาภิไธย = พลับ
| successor = [[กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)]]
| พระนาม =
| succession2 = พระอัครมเหสีกรุงศรีอยุธยา
| วันประสูติ = ไม่ปรากฏ
| วันสิ้นพระชนม์reign2 = พ.ศ. 2280 - พ.ศ. 2301
| predecessor2 = [[กรมหลวงอภัยนุชิต]]
| พระอิสริยยศ = [[กรมพระเทพามาตย์|กรมพระเทพามาตุ]]
| successor2 = [[กรมขุนวิมลพัตร]]
| ฐานันดรศักดิ์ = [[เจ้าต่างกรม]]
| พระบิดาfather = [[นายจบคชประสิทธิ์]]
| spouse-type = พระราชสวามี
| พระมารดา =
| พระราชสวามีspouse = [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]]
| พระอัครมเหสี =
| พระราชบุตรissue = 8 พระองค์
| พระมเหสี =
| ราชวงศ์dynasty = [[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง|บ้านพลูหลวง]]
| พระราชสวามี = [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]]
| พระราชบุตร = 8 พระองค์
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง|บ้านพลูหลวง]]
| ทรงราชย์ =
| พิธีบรมราชาภิเษก =
| ระยะเวลาครองราชย์ =
| รัชกาลก่อนหน้า =
| รัชกาลถัดมา =
}}
'''กรมพระเทพามาตุ''' มีพระอิสริยยศเดิมว่า '''กรมหลวงพิพิธมนตรี'''<ref>''ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง'', หน้า 174</ref> หรือ '''กรมหลวงพิจิตรมนตรี'''<ref>''ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง'', หน้า 116</ref> เป็นพระอัครมเหสีน้อย<ref>''นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 172</ref>ใน[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] และเป็น[[สมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง]]ใน[[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร]]และ[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์]]
 
==พระประวัติ==
บัญชีพระนามเจ้านายพันวษาน้อย เป็นบุตรีของนายช้างทรงบาศในรัชสมัย[[คำให้การชาวกรุงเก่าสมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] ระบุว่าโดย[[พระราชพงศาวดาร กรมหลวงพิพิธมนตรีฉบับพันจันทนุมาศ หรือ(เจิม)]] ระบุว่าเมื่อ[[สมเด็จพระพันวษาน้อยเพทราชา]]ปราบดาภิเษก มีพระนามเดิมว่า'''พลับ''' บิดานั้นได้รับแต่งตั้งเป็นบุตรีนายทรงบาศก์ขวากรมช้าง (ต่อมาคือ[[นายจบคชประสิทธิ์|กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข]]<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ซึ่งมีตำแหน่งและเอกสารอื่น'', หน้า 318</ref> แต่บัญชีพระนามเจ้านายใน[[คำให้การชาวกรุงเก่า]]ระบุว่า พระบิดาได้รับแต่งตั้งเป็น[[เจ้าพระบำเรอภูธร]] กับส่วนมารดาซึ่งเป็นสตรีเชื้อสายพราหมณ์บ้านสมอปลือ เมืองเพชรบุรี พระองค์มีพระนามเดิมว่า'''พลับ''' มีพระเชษฐภคินีพระองค์หนึ่งคือ[[กรมหลวงอภัยนุชิต|พระองค์ขาว]] ซึ่งได้เป็นพระชายาใน[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]]ขณะดำรงพระอิสริยยศเป็นพระบัณฑูรน้อย ส่วนพระองค์พลับต่อมาก็ได้เป็นพระชายารองในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศเช่นกัน ในระหว่างดำรงพระอิสริยยศเป็น[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]] พระองค์พลับมีพระราชโอรส 2 พระองค์ และพระราชธิดา 6 พระองค์ ตามลำดับดังนี้<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 623-624</ref>
# เจ้าฟ้าหญิงสิริประชา (หรือเจ้าฟ้าประชาวดี)
# เจ้าฟ้าหญิงสิริประภา (หรือเจ้าฟ้าประภาวดี)
เส้น 34 ⟶ 27:
# เจ้าฟ้าหญิงนวน (หรือเจ้าฟ้านุ่ม)
# เจ้าฟ้าชายอุทุมพรราชกุมาร กรมขุนพรพินิต ([[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร]])
[[พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)]] ระบุว่าเมื่อสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศปราบดาภิเษกในปี พ.ศ. 2275 ได้แต่งตั้งพระชายารองเป็น'''กรมหลวงพิพิธมนตรี'''<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 356</ref> ในตำแหน่งพระอัครมเหสีน้อย จึงออกพระนามว่า'''พระพันวษาน้อย'''
 
แรม 5 ค่ำ เดือน 6 พ.ศ. 2301 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศประชวรหนักใกล้สวรรคต กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (เจ้าฟ้าชายอุทุมพร) โปรดให้ทูลเชิญกรมหลวงพิพิธมนตรี เจ้าฟ้าจันทวดี และกรมขุนยี่สารเสนี ไปประทับ ณ พระตำหนักสวนกระต่าย<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 368</ref> เมื่อสวรรคตแล้ว กรมพระราชวังบวรสถานมงคลจึงขึ้นสืบราชสมบัติ แต่ได้เพียง 10 วัน ก็ถวายราชสมบัติแก่กรมขุนอนุรักษ์มนตรี แล้วเสด็จออกผนวช ส่วนกรมขุนอนุรักษ์มนตรีขึ้นครองราชย์เฉลิมพระนามว่า''สมเด็จพระบรมราชา'' แล้วโปรดให้ตั้งพระราชชนนีเป็น '''กรมพระเทพามาตุ''' แต่เมื่อถึงเดือน 12 พระราชชนนีก็เสด็จสวรรคต จึงโปรดให้ตั้งพระโกศไว้คู่กับพระบรมโกศพระบรมราชชนก ณ [[พระที่นั่งบรรยงก์รัตนาสน์]] แล้วถวายพระเพลิงทั้งสองพระองค์พร้อมกันในวันขึ้น 11 ค่ำ เดือน 5 พ.ศ. 2303<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 371</ref>
 
== ในวัฒนธรรมร่วมสมัย ==
เส้น 48 ⟶ 41:
; บรรณานุกรม
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ | ผู้แต่ง = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | ชื่อหนังสือ = นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย | urlURL = https://www.tmd.go.th/Thai_king_directories.pdf | พิมพ์ที่ = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | จังหวัด = กรุงเทพฯ | ปี = 2554 | ISBN = 978-616-7308-25-8| จำนวนหน้า = 264}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = | ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น| จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2553| ISBN = 978-616-7146-08-9| จำนวนหน้า = 800}}
* {{อ้างหนังสือ | ผู้แต่ง =| ชื่อหนังสือ = ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง | URL =| พิมพ์ที่ = แสงดาว | จังหวัด = กรุงเทพฯ | ปี = 2553 | ISBN = 978-616-508-073-6| จำนวนหน้า =536}}
{{จบอ้างอิง}}
 
 
{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
|ก่อนหน้า = [[กรมหลวงอภัยนุชิต]]
|ตำแหน่ง = พระอัครมเหสีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศกรุงศรีอยุธยา
|ถัดไป = [[กรมขุนวิมลพัตร]]
|ช่วงเวลา = 2280 – 2301
เส้น 67 ⟶ 61:
{{เรียงลำดับ|พิพิธมนตรี}}
{{อายุขัย||2301}}
[[หมวดหมู่:ราชินีแห่งราชอาณาจักรไทยพระอัครมเหสีกรุงศรีอยุธยา]]
[[หมวดหมู่:กรมพระเทพามาตย์]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]]
[[หมวดหมู่:เจ้านายทรงกรมสมัยกรุงศรีอยุธยา]]
[[หมวดหมู่:บุคคลในประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา]]