ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox organization
|name = องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
|image = Flag of SEATO.svg
|image_border =
|size = <!-- default 200 -->
|alt = SEATO flag
|caption = ธงของ SEATO
|map = Map of SEATO member countries - en.svg
|mcaption = แผนที่ประเทศที่เป็นสมาชิกของ SEATO แสดงเป็นสัน้ำเงิน
|abbreviation = SEATO
|motto =
|formation = 8 กันยายน ค.ศ. 1954
|extinction = 30 มิถุนายน ค.ศ. 1977
|type = [[องค์การระหว่างประเทศ]] กับ[[พันธมิตรทางทหาร]]
|status = <!-- ad hoc, treaty, foundation, etc -->
|purpose = <!-- focus as e.g. humanitarian, peacekeeping, etc -->
|headquarters = [[กรุงเทพมหานคร]], [[ประเทศไทย]]
|location =
|coords = <!-- Coordinates of location using a coordinates template -->
|region_served = [[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]
|membership =
บรรทัด 29:
|{{flag|United Kingdom}}
|{{flag|United States}}}}<br />'''รัฐที่ปกป้องโดย SEATO'''{{Collapsible list|title=2 ชาติ|{{flag|South Vietnam}}|{{flag|Kingdom of Laos}}}}
|language = <!-- official languages -->
|leader_title = <!-- position title for the leader of the org -->
|leader_name = <!-- name of leader -->
|main_organ = <!-- gral. assembly, board of directors, etc -->
|parent_organization = <!-- if one -->
|affiliations = <!-- if any -->
|num_staff =
|num_volunteers =
|budget =
|website =
|remarks =
}}
'''องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้''' (สปอ. หรือ ซีโต้) ({{lang-en|Southeast Asia Treaty Organization - SEATO}}) เป็นองค์การที่ก่อตั้งขึ้นตาม '''สนธิสัญญามะนิลา''' ลงนามเมื่อวันที่ [[8 กันยายน]] [[พ.ศ. 2497]] ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ [[19 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2498]] ในช่วง[[สงครามเย็น]] โดย 8 ประเทศ คือ:
บรรทัด 53:
ในภาคอารัมภบทของสัญญานี้ บรรดาประเทศสมาชิกต่างแสดงความปรารถนาที่จะประสานความพยายามของตนที่จะป้องกันร่วมกัน เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคง โดยเฉพาะข้อ 4 ของสนธิสัญญาเป็นข้อสำคัญที่สุด คือ แต่ละประเทศภาคีคู่สัญญาตกลงเห็นพ้องกันว่า หากดินแดนของประเทศใดถูกรุกรานจาการโจมตีด้วยกำลังอาวุธ ประเทศภาคีทั้งหมดที่เหลือจะถือว่าเป็นอันตรายร่วมกัน และจะปฏิบัติการเพื่อเผชิญหน้ากับอันตรายร่วมกัน หรือถ้าหากพื้นที่ภายในเขตครอบคลุมของสนธิสัญญาถูกคุกคามด้วยประการใด ๆ ประเทศภาคีทั้งหมดจะปรึกษากันในทันที เพื่อตกลงในมาตรการเพื่อการป้องกันร่วมกัน
 
อย่างไรก็ตาม ซีโต้ประสบความล้มเหลวในการเข้าแทรกแซงความขัดแย้งใน[[ประเทศลาว]]และ[[ประเทศเวียดนาม|เวียดนาม]] เนื่องจากการตัดสินใจนั้นต้องการมติเอกฉันท์ แต่ฝรั่งเศสและฟิลิปปินส์นั้นไม่เห็นด้วย.
 
สำนักงานใหญ่ขององค์การเคยตั้งอยู่ที่[[กรุงเทพมหานคร]] มี[[พจน์ สารสิน|นายพจน์ สารสิน]] จาก[[ประเทศไทย]] ดำรงตำแหน่งเลขาธิการทั่วไป ซึ่งเป็นตำแหน่งผู้นำอย่างเป็นทางการขององค์การ ตั้งแต่ [[พ.ศ. 2500]] ถึง [[พ.ศ. 2507|2507]] ปัจจุบันนี้บริเวณที่เคยเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ขององค์การ ที่ถนนศรีอยุธยา ได้กลายเป็นที่ตั้งของ [[กระทรวงการต่างประเทศ]]ของประเทศไทย
 
ซีโต้ยุบเลิกอย่างเป็นทางการเมื่อ 30 มิถุนายน [[พ.ศ. 2520]] <ref name=EB60>{{harvnb|Encyclopaedia Britannica (India)|2000|p=60}}</ref>เนื่องจากสถานการณ์ทางการเมืองของโลกได้เปลี่ยนไปมาก [[สหรัฐอเมริกา]]ถอนกำลังทหารออกจาก [[เวียดนามใต้]] และรัฐบาลที่อเมริกาสนับสนุนประสบความพ่ายแพ้ทั้งในเวียดนาม ลาว และกัมพูชา และทำให้องค์การซีโต้หมดความจำเป็นในฐานะเครื่องมือในการดำเนินนโยบายต่างประเทศของ[[สหรัฐอเมริกา]]ในภูมิภาคนี้
 
มรดกของซีโต้ในประเทศไทยคงเหลือเพียงอาคารสำนักงานใหญ่ ซึ่งรัฐบาลไทยได้ใช้เป็นที่ทำการส่วนหนึ่งของกระทรวงการต่างประเทศไทยอยู่หลายปี ต่อมาถูกรื้อถอนลงและมีการสร้างอาคารที่ทำการแห่งใหม่ของกระทรวงการต่างประเทศ (หลังปัจจุบัน)ในพื้นที่เดิม กับโรงเรียนวิศวกรรม สปอ. ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนรูปมาเป็นสถาบันวิชาการอิสระ เรียกว่า[[สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย]] หรือ AIT ในปัจจุบันนี้{{อ้างอิง}}
 
== อ้างอิง ==