ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8033312 สร้างโดย น้องแบงค์ (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
 
ปัจจุบัน มีเดวิด กริมส์ (David Grimes) เป็นประธาน<ref>{{cite web|title=President|url=http://www.wmo.int/pages/governance/president/president_en.html|publisher=World Meteorological Organization|accessdate=7 August 2013}}</ref> และมิเชล จาร์โรด์ (Michel Jarraud) เป็นเลขาธิการ<ref>{{cite web|title=Secretary-General|url=http://www.wmo.int/pages/about/sec/jarraud_en.html|publisher=World Meteorological Organization|accessdate=7 August 2013}}</ref>
 
== คณะกรรมการไต้ฝุ่น ==
{{กล่องข้อมูล หน่วยงานของรัฐ 2
|ชื่อหน่วยงาน = คณะกรรมการไต้ฝุ่นของคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก/องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก
|ชื่อในภาษาแม่_1 = ESCAP/WMO Typhoon Committee
|ชื่อในภาษาแม่_2 =
|ชื่อในภาษาแม่_ท =
|สัญลักษณ์ =
|สัญลักษณ์_กว้าง = 100px
|สัญลักษณ์_บรรยาย = ตราประจำหน่วยงาน
|ตรา =
|ตรา_กว้าง =
|ตรา_บรรยาย =
|วันก่อตั้ง = พ.ศ. 2511
|ผู้ก่อตั้ง =
|สืบทอดจาก_1 = คณะผู้เชี่ยวชาญไต้ฝุ่น
|สืบทอดจาก_2 =
|วันยุบเลิก =
|สืบทอดโดย =
|เขตอำนาจ =
|กองบัญชาการ = เลขที่ 5 ถนนโอตูบรู เกาะ[[โคโลอาน]]<br>{{flagicon|Macau}} [[มาเก๊า]] [[ประเทศจีน]]<ref>http://www.typhooncommittee.org/contact-us/</ref>
|งบประมาณ =
|หัวหน้า1_ชื่อ = หยู จีซิน
|หัวหน้า1_ตำแหน่ง = เลขาธิการ
|ประเภทหน่วยงาน =
|ต้นสังกัด =
|กำกับดูแล =
|เว็บไซต์ = [http://www.typhooncommittee.org/ เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ]
|หมายเหตุ =
|แผนที่ =
|แผนที่_กว้าง =
|แผนที่_บรรยาย =
}}
'''คณะกรรมการไต้ฝุ่นของคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก/องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก''' ({{lang-en|ESCAP/WMO Typhoon Committee}}) เป็นคณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นโดยรัฐบาลของประเทศที่เป็นสมาชิก[[คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก]] ซึ่งได้รับผลกระทบจากพายุไต้ฝุ่น ร่วมกับ[[องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก]] โดยเพื่อสนับสนุนและประสานงานเพื่อลดความเสียหายจากพายุไต้ฝุ่นในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก<ref name="STATUTES">{{cite web |title=STATUTES OF THE COMMITTEE|url=http://www.typhooncommittee.org/statutes-of-the-committee/|accessdate=29 November 2018|archiveurl=https://web.archive.org/web/20181129115736/http://www.typhooncommittee.org/statutes-of-the-committee/|archivedate=29 November 2018}}</ref>
 
มีการประชุมเฉพาะกิจขึ้นเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2511 เพื่อดำเนินร่างข้อบังคับคณะกรรมการไต้ฝุ่นที่[[กรุงเทพมหานคร]] และมีผู้แทนรัฐบาลจาก[[ประเทศไทย]] [[ประเทศฟิลิปปินส์]] [[ประเทศเวียดนามใต้]] และ[[ฮ่องกง]]เข้าร่วม รวมถึงมีผู้แทนจาก[[สหรัฐ]]และ[[สหภาพโซเวียต]]เข้าร่วมในฐานะผู้สังเกตการณ์ ซึ่งนำไปสู่การจัดประชุมปฐมฤกษ์ของคณะกรรมการไต้ฝุ่นในเดือนธันวาคมปีเดียวกันในที่สุด<ref name="1964-68">{{cite web |title=THE COMMITTEE CHRONOLOGY – 1964-1968|url=http://www.typhooncommittee.org/1964-1968/|accessdate=29 November 2018|archiveurl=https://web.archive.org/web/20181129121736/http://www.typhooncommittee.org/1964-1968/|archivedate=29 November 2018}}</ref>
 
พันธกิจของคณะกรรมการไต้ฝุ่นคือ เพื่อบูรณาการและยกระดับภูมิภาค (ด้านอุตุนิยมวิทยา อุทกวิทยา และการป้องกันและการเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติ) ของกิจกรรมของสมาชิกภายใต้ขอบข่ายงานในระบบสากล เพื่อลดการสูญเสียชีวิต และย่อผลกระทบทางสังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อมจากภัยพิบัติอันเกี่ยวเนื่องจากพายุไต้ฝุ่น ส่วนวิสัยทัศน์ของคณะกรรมการไต้ฝุ่นคือ คณะกรรมการไต้ฝุ่น (TC) ของคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก/องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก เป็นหน่วยงานระหว่างรัฐบาลที่ดีที่สุดในโลก เป็นองค์การระดับภูมิภาคเพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตประชากรของรัฐสมาชิก ผ่านความร่วมมือแบบบูรณาการเพื่อลดผลกระทบและความเสี่ยงจากภัยพิบัติอันเกี่ยวเนื่องจากพายุไต้ฝุ่น<ref>{{cite web |title=MISSION & VISION|url=http://www.typhooncommittee.org/2012/09/26/mission/|accessdate=29 November 2018|archiveurl=https://web.archive.org/web/20181129122753/http://www.typhooncommittee.org/2012/09/26/mission/|archivedate=29 November 2018}}</ref>
 
== อ้างอิง ==