ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มัสยิดกรือเซะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 27:
| หมายเหตุ =
}}
 
'''มัสยิดกรือเซะ''' ({{lang-ms|Masjid Kerisek}}) หรือ '''มัสยิดสุลต่านมูซัฟฟาร์ชาห์'''<ref name= "ทวีพร">{{cite web |url= http://prachatai.com/journal/2016/06/66072 |title= รายงานพิเศษ: ภาษามลายู-รัฐไทยนิยม การกลืนชาติทางภาษา แกะปมขัดแย้งชายแดนใต้ |author= ทวีพร คุ้มเมธา |date= 1 มิถุนายน 2559 |work= สำนักข่าวอิศรา |publisher=|accessdate= 3 ตุลาคม 2559}}</ref> เป็น[[มัสยิด]]เก่าแก่อายุกว่า 200 ปีใน[[จังหวัดปัตตานี]] สันนิษฐานได้ว่าเป็นศาสนสถานที่สร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 22 ร่วมสมัย[[กรุงศรีอยุธยา]] มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า '''มัสยิดปิตูกรือบัน''' ชื่อนี้เรียกตามรูปทรงของประตูมัสยิด ซึ่งมีลักษณะเป็นวงโค้งแหลมแบบ[[กอทิก]]ของชาวยุโรป และแบบสถาปัตยกรรมของชาวตะวันออกกลาง (คำว่า ปิตู แปลว่า ประตู กรือบัน แปลว่า ช่องประตูที่มีรูปโค้ง) <ref>[http://www.pattani.go.th/saratourpai/satanteesamkan/tuarid_madsayidkrueseh.htm มัสยิดกรือเซะ]</ref>
 
ช่วงเวลาที่มัสยิดกรือเซะถูกสร้างนั้นยังเป็นที่ถกเถียง บ้างว่าสร้างในรัชสมัย[[สุลต่านมูซัฟฟาร์ชาห์]]<ref name= "ทวีพร"/><ref name= "เล็ก"/> บ้างก็ว่าสร้างในรัชสมัย[[รายาบีรู]]<ref>{{cite web |url= http://www.openbase.in.th/node/9318 |title= แหล่งโบราณคดีภาคใต้ - มัสยิดกรือเซะ |author=|date= 19 พฤษภาคม 2552 |work= คลังเอกสารสาธารณะ |publisher=|accessdate= 26 กันยายน 2560}}</ref> ส่วนกรณีที่มัสยิดสร้างไม่สำเร็จนั้น ก็มีการยึดโยงกับตำนาน[[เจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว]]ซึ่งมีสุสานอยู่ใกล้กับมัสยิดกรือเซะ ที่ถูกเล่าต่อเติมภายหลังว่าเจ้าแม่ได้สาปให้มัสยิดนี้สร้างไม่สำเร็จ จนกลายเป็นปัญหากินแหนงแคลงใจระหว่าง[[ชาวไทยเชื้อสายมลายู]]และ[[ชาวไทยเชื้อสายจีน]]ในพื้นที่<ref>{{cite web |url= http://www.jr-rsu.net/article/1171 |title= มัสยิดกรือเซะ ปมขัดแย้งไฟใต้ |author=|date= 26 พฤษภาคม 2557 |work= วารสารศาสตร์ดิจิทัล มหาวิทยาลัยรังสิต |publisher=|accessdate= 26 กันยายน 2560}}</ref><ref>{{cite web |url= http://www.peace.mahidol.ac.th/th/index.php?option=com_content&task=view&id=873&Itemid=162 |title= สร้างเรื่องเล่าสมานฉันท์ กรณีตำนานลิ้มกอเหนี่ยว-กรือเซะ |author= งามศุกร์ รัตนเสถียร |date=|work= ศูนย์ศึกษาและพัฒนาสันติวิธี มหาวิทยาลัยมหิดล |publisher=|accessdate= 26 กันยายน 2560}}</ref> แต่จากการสำรวจและบูรณะของ[[กรมศิลปากร]] พบว่าโครงสร้างโดมนั้นมีลักษณะไม่แข็งแรงและขาดความสมดุลจึงทำให้พังทลาย ทั้งยังไม่พบร่องรอยถูกเผาหรือถูกฟ้าผ่าตามตำนานที่กล่าวอ้างแต่อย่างใด เพราะหลังราชวงศ์กลันตันปกครองปัตตานีถัดจากราชวงศ์ศรีวังสา ได้ย้ายศูนย์กลางเมืองไปยังบานาและจะบังติกอตามลำดับ มัสยิดกรือเซะจึงถูกทิ้งให้โรยราไป<ref>{{cite web |url= http://www.psu10725.com/joomla/index.php?option=com_content&view=article&id=815:-30-&catid=36:2011-06-18-10-54-39&Itemid=71 |title= “นักวิชาการภูมิประวัติศาสตร์” เสนอหลักฐานใหม่ ชี้ชัดว่า ชั้นดินของกรือเซะ ไม่มีองค์ประกอบทางเคมีที่ระบุว่ามัสยิดถูกไฟไหม้หรือฟ้าผ่า แต่“โครงสร้างที่ไม่แข็งแรง” เป็นสาเหตุที่ส่วนยอดโคมพังทลาย |author=|date= 23 มีนาคม 2558 |work= สถานีวิทยุ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี |publisher=|accessdate= 26 กันยายน 2560}}</ref>
 
== กรณีกรือเซะ ==
วันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2547 ในขณะที่กองทัพภาคที่ 4 ประกาศกฎอัยการศึก ในจังหวัดนราธิวาส จังหวัดปัตตานีและ จังหวัดยะลา <ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2548/00167639.PDF</ref> เกิดความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย โดยที่มัสยิดกรือเซะเกิดเหตุการณ์รุนแรงมากที่สุดกล่าวคือมีผู้เสียชีวิตที่มัสยิตกรือเซะมากถึง 34 ศพ รองลงมาคือที่อำเภอสะบ้าย้อย มีผู้เสียชีวิตรวม 19 ศพ อำเภอกรงปีนัง จังหวัดยะลา 17 ศพ อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี 13 ศพอำเภอเมือง จังหวัดยะลา 12 ศพ อำเภอบันนังสตา 8 ศพ อำเภอธารโต 5 ศพ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี 2 ศพ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา บาดเจ็บสาหัส 4 ราย <ref>https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=6952</ref> โดยกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบกระจายกันโจมตีฐานตำรวจ-ทหาร 12 จุด รวมทั้งสองฝ่ายเสียชีวิต 113 ศพ<ref>https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=6593</ref> ผู้ก่อการร้าย 108 ศพ เจ้าหน้าที่ 5 ศพในจำนวนนี้เป็นทราบชื่อได้แก่ ส.ท. สามารถ  กาบดอนกลาง ส.ต.ท. ชำนาญ อักษรเนียม ส.ต.ต.ณรงค์ชัย พลเดช พลทหาร ดลนิยา แกคอย จ.ส.ต.เลิศศักดิ์ เที่ยงธรรม บาดเจ็บ 6 คน ถูกจับกุม 17 คน บาดเจ็บ 15 นาย<ref>{{cite web |url= https://prachatai.com/journal/2016/04/65508 |title= 12 ปี เหตุการณ์ ‘กรือเซะ’ ย้อนรอยบาดแผลและบทเรียน |author= จันจิรา ลิ้นทอง |date= 28 เมษายน 2559 |work= ประชาไท |publisher=|accessdate= 26 กันยายน 2560}}</ref>
 
หลังจากเหตุการณ์ดังกล่าวทำให้มัสยิดกรือเซะมีผู้เข้าชมน้อยลงกว่าเก่าก่อน<ref>{{cite web |url= http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9600000043099 |title= ทหารคุมเข้มวันครบรอบ 13 ปี “มัสยิดกรือเซะ” ชาวบ้านเผยไม่อยากรื้อฟื้นเหตุการณ์ความรุนแรง |author=|date= 28 เมษายน 2560 |work= ผู้จัดการออนไลน์ |publisher=|accessdate= 26 กันยายน 2560}}</ref>