ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Koppen World Map Cfb Cfc Cwb Cwc.png|400px|thumb|เขตภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทร ตามระบบ[[การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนเคิพเพิน]] ชนิด "Cfb", "Cfc", "Cwb" and "Cwc"]]
 
'''ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทร''' เป็นภูมิอากาศในเขตชายฝั่งตะวันตกและบริเวณละติจูดกลางของทวีปส่วนใหญ่บนโลก ภูมิอากาศแบบนี้มักมี[[ฤดูร้อน]]ซึ่งอบอุ่น (แต่ไม่ร้อน) และ[[ฤดูหนาว]]ซึ่งเย็นสบาย (แต่ไม่หนาวเย็นจนเกินไป) มีช่วง[[อุณหภูมิ]]ในแต่ละปีค่อนข้างแคบ ไม่ค่อยพบ[[ฤดูแล้ง]] ปริมาณ[[หยาดน้ำฟ้า]]กระจายตัวทั่วทั้งปี ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทรมีอิทธิพลมากบริเวณตอนเหนือของ[[ยุโรปตะวันตก]] บางส่วนของเทือกเขาแอปปาลาเชียน บางส่วนของ[[ทวีปอเมริกาใต้]] และพื้นที่ส่วนน้อยใน[[ทวีปแอฟริกา]], ทางตะวันออกเฉียงใต้ของ[[ประเทศออสเตรเลีย]] และ[[นิวซีแลนด์]]
 
ตามระบบ[[การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนเคิพเพิน]] ตัวอย่างของเขตซึ่งมีลักษณะภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทรจะแทนด้วยตัวอักษร ''Cfb'' บางครั้งพื้นที่ซ่งแทนด้วยตัวอักษร ''Csb'' หรือพื้นที่บริเวณ''ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน''ก็ไม่ได้มี[[ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน]] แต่กลับมีภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทรแทน (''Cfb'')<ref>{{cite web|url=http://www.fao.org/docrep/006/ad652e/ad652e07.htm |title=GLOBAL ECOLOGICAL ZONING FOR THE GLOBAL FOREST RESOURCES ASSESSMENT 2000 |publisher=Fao.org |date= |accessdate=2010-08-18}}</ref>
 
== ข้อมูลเพิ่มเติม ==
* [[การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนเคิพเพิน]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนเคิพเพิน]]