ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระอินทราชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 7192848 สร้างโดย 118.174.119.78 (พูดคุย)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
| พระมเหสี =
| พระราชสวามี =
| พระราชโอรส/ธิดา = เจ้าอ้ายพระยา<br>เจ้ายี่พระยา<br>เจ้าสามพระยา<br>([[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2]])
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์สุพรรณภูมิ]]
| ทรงราชย์ = พ.ศ. 1952 - 1967
บรรทัด 23:
}}
 
'''สมเด็จพระอินทราชา''' (เจ้านครอินทร์) หรือ '''สมเด็จพระรามาธิบดีศรีนครินทราธิราช''' หรือ '''สมเด็จพระนครินทราธิราช''' เสด็จพระราชสมภพ เมื่อปี [[พ.ศ. 1902]] พระองค์เป็นพระราชนัดดาใน[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1]] และเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 6 ของ[[อาณาจักรอยุธยา]] เมื่อปี [[พ.ศ. 1952]]
 
== พระราชประวัติ ==
สมเด็จพระอินทราชา หรือ '''เจ้านครอินทร์''' เป็นพระราชโอรสในเจ้าเมือง[[สุพรรณบุรี]]และเป็นพระราชนัดดาใน[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1]] ส่วนพระชนนีมีเชื้อสาย[[ราชวงศ์พระร่วง]]แห่ง[[อาณาจักรสุโขทัย|สุโขทัย]]<ref>''การเมืองในประวัติศาสตร์ ยุคสุโขทัย-อยุธยา พระมหาธรรมราชา กษัตราธิราช'', หน้า 65</ref> พระองค์ได้เสวยราชสมบัติอยู่ ณ เมืองสุพรรณบุรี จนกระทั่ง [[สมเด็จพระเจ้ารามราชา]]เกิดข้อพิพาทกับเจ้าเสนาบดี เป็นเหตุให้เจ้าพระยามหาเสนาบดีหนีมาขึ้นกับพระองค์และยกกำลังเข้ายึดกรุงศรีอยุธยาได้ แล้วจึงทูลเชิญพระองค์ขึ้นครองราชสมบัติแห่งกรุงศรีอยุธยา ส่วนสมเด็จพระรามราชาธิราชได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ไปครองเมืองปทาคูจามแทน
 
สมเด็จพระอินทราชาครองราชย์ได้ 15 ปี และเสด็จสวรรคตเมื่อปี [[พ.ศ. 1967]] ในครั้งนั้นเจ้าอ้ายพระยาและเจ้ายี่พระยาพระราชโอรสของพระองค์ต่างยกพลเข้ามายังกรุงศรีอยุธยาเพื่อหมายในราชสมบัติ จึงเกิดการชนช้างกันขึ้น ณ สะพานป่าถ่าน จนสิ้นพระชนม์ทั้ง 2 พระองค์ เป็นเหตุให้เจ้าสามพระยาพระราชโอรสพระองค์ที่ 3 ได้ขึ้นครองกรุงศรีอยุธยา โดยมีพระนามว่า [[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2]]
บรรทัด 68:
| isbn =
}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = พิเศษ เจียจันทร์พงษ์ | ชื่อหนังสือ = การเมืองในประวัติศาสตร์ ยุคสุโขทัย-อยุธยา พระมหาธรรมราชา กษัตราธิราช | จังหวัด = กรุงเทพฯ | พิมพ์ที่ = มติชน | ปี = 2553 | ISBN = 978-974-02-0401-5 | จำนวนหน้า = 184}}
 
== ดูเพิ่ม ==