ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มองโกลอยด์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
M.Chanya Pun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
แนวคิดเกี่ยวกับเผ่าพันธุ์มองโกลอยด์ในอดีตถูกมองว่าใช้ลักษณะการจำแนกแบบ[[อนุกรมวิธาน]]หรือทำให้ชาติพันธุ์ในกลุ่มมองโกลอยด์กลายเป็นสิ่งมีชีวิตต่างสาย[[วิวัฒนาการของมนุษย์|วิวัฒนาการ]] การจำกัดความของคำว่า "มองโกลอยด์" จึงยังเป็นข้อถกเถียงและไม่นิยมใช้ในกลุ่มนักมานุษยวิทยาส่วนใหญ่ในปัจจุบัน
 
'''ลักษณะของชาวมองโกลอยด์''' คือ มีผิวเหลืองหรือน้ำตาล ผมเหยียดตรง เส้นผมค่อนข้างหยาบ ขนตามตัวมีน้อย ศีรษะค่อนข้างกลมและแบน รูปหน้ากลม จมูกไม่กว้าง ไม่โด่ง โหนกแก้มนูนเห็นได้ชัดเจน เบ้าตาตื้น เปลือกตาอูม รูปตาเรียว นัยตาสีน้ำตาลหรือสีดำ ริมฝีปากบาง รูปร่างสันทัด เตี้ยถึงสูงปานกลาง '''แบ่งเป็น 4 กลุ่มได้แก่'''
== อ้างอิง ==
{{โครงมนุษย์}}
 
1.กลุ่มมองโกลอยด์โบราณ ได้แก่ ชาวทิเบต มองโกเลีย จีน เกาหลี ญี่ปุ่น
 
2.กลุ่มอาร์กติกมองโกลอยด์ ได้แก่ เอสกิโม(Eskimo) อาศัยอยู่ทางตะวันออกของไซบีเรีย ทางตะวันตกของรัฐอะแลสกา หมู่เกาะและเขตชายฝั่งอาร์กติกของแคนาดา เกาะกรีนแลนด์ แบ่งเป็นกลุ่มย่อย เช่น ยูปิค(Yupik) อินูเปียต(Inupiat) อลูติก(Alutiiq) และอื่นๆ ในภูมิภาคสแกนดิเนเวีย เช่น ซามี(Saami) หรืือแลปป์(Lapp) ในมองโกเลียและไซบีเรีย เช่น อิเวนติ(Eventi)
 
3.กลุ่มอินโด-มลายู คือ กลุ่มประชากรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย
 
4.กลุ่มอเมริกันอินเดียน ได้แก่ ชาวอินเดียนในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ ประกอบด้วยหลายกลุ่ม กลุ่มที่อาศัยอยู่ในทวีปอเมริกาเหนือ เช่น เชโรกี(Cherokee) โฮปี(Hopi) นาวาโฮ(Navajo) โมฮอค(MOhawk) เป็นต้น กลุ่มที่อาศัยอยู่ในทวีปอเมริกาใต้ เช่น อินคา(Inca) มายา(Maya) แอชเต็ก(Aztec) คิชวา(Kichwa) ชิพิโบ(Shipibo) เกชัว(Quechua) เป็นต้น โดยปนะชากรชาวมองโกลอยด์กลุ่มอเมริกันอินเดียนในอเมริกาใต้จะมากกว่าอเมริกาเหนือ
 
== อ้างอิง ==
{{โครงมนุษย์}}อ้างอิงจาก หนังสือภูมิศาสตร์มนุษย์ โครงการตำราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มูลนิธิ สอวน.
[[หมวดหมู่:เชื้อชาติ]]