ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎหมายตราสามดวง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
เนื้อหาใหม่ควรเขียนรวมกับเนื้อหาเดิม ไม่ควรตัดแปะ
บรรทัด 3:
[[ไฟล์:กฎหมายตราสามดวง.jpg|thumb|กฎหมายตราสามดวง]]
[[ไฟล์:ตราสามดวง.jpg|thumb|ตราประจำตำแหน่ง 3 ดวงที่ประทับในกฎหมายตราสามดวง]]
'''กฎหมายตราสามดวง''' คือ [[ประมวลกฎหมาย]]ใน[[รัชกาลที่ 1]] เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชำระกฎหมายเก่าที่มีมาแต่ครั้งโบราณ แล้วรวบรวมเป็นประมวลกฎหมายขึ้นเมื่อจุลศักราช 1166 ตรงกับ [[พ.ศ. 2347]] โปรดให้เรียกว่า “กฎหมายตราสามดวง”
'''กฎหมายตรา ๓ ดวง'''เป็นประมวลกฎหมายเก่าของไทยที่มีกำเนิดย้อนหลังไปถึงสมัยก่อนตั้งกรุงศรีอยุธยาระยะหนึ่ง ซ่ึ่งได้มีการชำระและบัญญัติเพิ่มเติมต่อมาเป็นครั้งคราวในสมัยกรุงศรีอยุธยา, กรุงธนบุรี และรัชกาลที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์. หลังจากที่มีการชำระทั้งฉบับในรัชกาลที่ ๑ แล้ว กฎหมายนี้ก็ยังได้ใช้บังคับเป็นหลักสืบมาเป็นเวลาอันยาวนาน โดยมีกฎหมายที่บัญญัติเพิ่มเติมขึ้นในรัชกาลต่อๆ มาอีกจำนวนหนึ่งเป็นส่วนประกอบ. จนเมื่อประเทศสยามมีความจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงระบบกฎหมายและการปกครองแผ่นดินจากแบบเดิมมาเป็นแบบสมัยใหม่หรืออย่างตะวันตกในรัชกาลที่ ๕ จึงได้มีการยกเลิกกฎหมายเดิมไปทีละส่วนๆ จนแทบทั้งสิ้นเมื่อมีการประกาศใช้ประมวลกฎหมายแบบใหม่ฉบับต่างๆ อย่างครบถ้วนในรัชกาลที่ ๘ แล้ว. กฎหมายตรา ๓ ดวงจึงเป็นประมวลกฎหมายฉบับเดียวที่ใช้บังคับทั่วราชอาณาจักรไทยในอดีตอย่างต่อเนื่องและยาวนานมาก โดยมีเนื้อหาส่วนใหญ่เป็นกฎหมายสมัยกรุงศรีอยุธยา และถึงแม้จะมีกฎหมายที่บัญญัติขึ้นในสมัยต่อมาอีกจำนวนหนึ่งอยู่ด้วย แต่ก็เป็นเพียงกฎหมายส่วนน้อยที่บัญญัติขึ้นตาม "อย่างทำเนียม" ของกฎหมายสมัยกรุงศรีอยุธยานั่นเอง. ด้วยความเก่าแก่และความสืบเนื่องอันยาวนานเช่นนี้ กฎหมายตรา ๓ ดวงจึงเป็นหนังสือสำคัญที่นับถือกันในบรรดานักนิติศาสตร์และนักไทยคดีศึกษาว่าเป็นเอกสารหลักฐานอันดียิ่ง ในบรรดาเอกสารหลักฐานที่มีอยู่น้อย สำหรับใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์กฎหมายไทยและไทยคดีศึกษาด้านต่างๆ มาโดยตลอด.
ให้อาลักษณ์ชุบเส้นหมึกสามชุด แต่ละชุดประทับตรา 3 ดวง คือ ตราพระราชสีห์ (สำหรับตำแหน่งสมุหนายก) 1 ตราพระคชสีห์ (สำหรับตำแหน่งสมุหพระกลาโหม) 1 และตราบัวแก้ว (สำหรับตำแหน่งโกษาธิบดี หมายถึงพระคลัง ซึ่งดูแลรวมทั้งกิจการด้านต่างประเทศ) ไว้ทุกเล่มเก็บไว้ ณ ห้องเครื่องชุดหนึ่ง หอหลวงชุดหนึ่ง และศาลหลวงอีกชุดหนึ่ง
 
หนังสือกฎหมายตราสามดวงนั้นนี้ ฉบับเดิมเป็นฉบับเขียนในสมุดไทยด้วยฝีมือของได้ใช้อาลักษณ์ในรัชกาลที่ ๑ เมื่อคราวที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ชำระกฎหมายทั้งฉบับ แล้วหลายท่านเขียนขึ้นใหม่ โดยแยกเป็นฉบับหลวงหรือฉบับของพระมหากษัตริย์ ประทับตรา ๓ ดวงอันได้แก่ตราพระราชสีห์, ตราพระคชสีห์หลวง” และตราบัวแก้ว “ฉบับรองทรง” ในจ.ศ. ๑๑๖๖ (พ.ศ. ๒๓๔๘). โดยสันนิษฐานว่า สำหรับฉบับหลวงนั้นมี ๓ ชุด พระราชทานไว้ ณ ห้องเครื่องชุดหนึ่ง,เป็นสมุดไทย หอหลวงชุดหนึ่ง และศาลหลวงชุดหนึ่ง. ร. แลงกาต์สันนิษฐานว่า เดิมชุดหนึ่งมี ๔๑41 เล่ม เมื่อรวม 3 ชุด จึงมีทั้งสิ้น ๑๒๓123 เล่ม แต่เท่าที่พบ แต่ในปัจจุบันเหลืออยู่เพียง ๘๐79 เล่ม โดยเก็บไว้ที่[[กระทรวงยุติธรรม]] ๓๗37 เล่ม และที่[[หอสมุดแห่งชาติ]] ๔๓41 เล่ม. ส่วนอีก 44 เล่ม ไม่ทราบว่าขาดหายไปด้วยประการใด ส่วน นอกจากนี้ยังมีฉบับรองทรงอีก นั้น ก็คือ กฎหมายตราสามดวงที่อาลักษณ์ชุดหนึ่งเดียวกับที่เขียนฉบับหลวง ได้เขียนขึ้น ซึ่งโดยเขียนในสมุดไทยเวลาไล่เลี่ยกัน โดยอาลักษณ์ฉบับหลวง เขียนในรัชกาลที่ปีฉลู จ.ศ.1167 เช่นเดียวกัน([[พ.ศ. 2348]]) ส่วนฉบับรองทรงเขียนขึ้นในปีเถาะ จ.ศ. แต่ไม่ได้ประทับตรา1169 (พ.ศ. 2350) ข้อแตกต่างระหว่าง ฉบับหลวง และฉบับรองทรง ก็คือ ฉบับรองทรงจะไม่มีตราสามดวงประทับไว้ด้วย และน่าฉบับหลวงจะมีอาลักษณ์สอบทาน ๔๑3 เล่มเช่นเดียวกับคนส่วนฉบับหลวงรองทรงมีอาลักษณ์สอบทานเพียง 2 คน สำหรับกฎหมายตราสามดวง ฉบับรองทรงนี้ แต่ปัจจุบันเหลือนี้พบเพียง ๑๗18 เล่ม โดยเก็บรักษาไว้ที่ หอสมุดแห่งชาติทั้งหมด. 17 ต่อมาได้พบฉบับรองทรงเล่มและที่[[พิพิธภัณฑ์อัยการไทย]] สำนักสำนักงานอัยการสูงสุด อีก ๑1 เล่ม จึงมีฉบับรองทรงเหลืออยู่ทั้งหมด ๑๘ เล่ม.
 
ตามประกาศพระราชปรารภในกฎหมายตรา ๓ ดวง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงเรียกกฎหมายที่ชำระนั้นว่า "กฎหมาย" บ้าง, "พระราชกำหนดบทพระอายการ" บ้าง และ "พระสมุดพระราชกำหนดบทพระอายการ" บ้าง ไม่ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้เรียกว่า "กฎหมายตรา ๓ ดวง" แต่อย่างใด.
 
เมื่อมีการจัดพิมพ์กฎหมายที่ชำระในรัชกาลที่ ๑ ตั้งแต่ปลายรัชกาลที่ ๓ เป็นต้นมา ฉบับพิมพ์ของนายโหมด อมาตยกุล (พ.ศ. ๒๓๙๒) ใช้ชื่อว่า "หนังสือเรื่องกฎหมาย" ฉบับพิมพ์ของหมอบรัดเล (พ.ศ. ๒๔๐๕-๒๔๐๖) ใช้ชื่อว่า "หนังสือเรื่องกฎหมายเมืองไทย" ฉบับพิมพ์ของหลวงดำรงธรรมสาร (มี) (พ.ศ. ๒๔๓๘-๒๔๔๐) ใช้ชื่อว่า "กฎหมาย หมายประกาศ พระราชบัญญัติเก่าใหม่ซึ่งคงใช้อยู่ในปัตยุบันนี้" ฉบับพิมพ์ของพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (พ.ศ. ๒๔๔๔) ใช้ชื่อว่า "กฎหมายสำหรับผู้พิพากษาแลทนายว่าความ" ฉบับพิมพ์ของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) (พ.ศ. ๒๔๗๓-๒๔๗๔) ใช้ชื่อว่า "กฎหมายตรา ๓ ดวง" ฉบับพิมพ์ของ ร.ต.ท.เสถียร ลายลักษณ์ (พ.ศ. ๒๔๗๘) ใช้ชื่อว่า "กฎหมายตราสามดวง" ฉบับพิมพ์ของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (พ.ศ. ๒๔๘๑-๒๔๘๒) และฉบับพิมพ์ของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๒๙) ใช้ชื่อว่า "ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ ๑ จุลศักราช ๑๑๖๖" ฉบับพิมพ์ขององค์การค้าของคุรุสภา (พ.ศ. ๒๕๐๕-๒๕๐๖, ๒๕๑๕, ๒๕๓๗) ใช้ชื่อว่า "กฎหมายตราสามดวง" ฉบับพิมพ์ของกรมศิลปากร (พ.ศ. ๒๕๒๑) ใช้ชื่อว่า "เรื่องกฎหมายตราสามดวง" ฉบับพิมพ์ของสถาบันปรีดี พนมยงค์ (พ.ศ. ๒๕๔๘) ใช้ชื่อว่า "กฎหมายตรา ๓ ดวง" ฉบับพิมพ์ของราชบัณฑิตยสถาน (พ.ศ. ๒๕๕๐) ใช้ชื่อว่า "กฎหมายตราสามดวง". ดังนั้นชื่อ "กฎหมายตรา ๓ ดวง" เป็นชื่อที่ใช้เรียกกันในฉบับพิมพ์ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๗๓ เป็นต้นมา หาได้ใช้เรียกกันในฉบับเขียนตั้งแต่รัชกาลที่ ๑ ไม่.
 
== มูลเหตุของการชำระกฎหมายตราสามดวง ==