ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเพณีสารทเดือนสิบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ล้างบาง
บรรทัด 1:
'''ประเพณีสารทเดือนสิบ''' เป็นงานบุญประเพณีของคน[[ภาคใต้]]ของ[[ประเทศไทย]] โดยเฉพาะชาว[[นครศรีธรรมราช]] ที่ได้รับอิทธิพลด้านความเชื่อ ซึ่งมาจากทาง[[ศาสนาพราหมณ์]] โดยมีการผสมผสานกับความเชื่อทาง[[พระพุทธศาสนา]]เข้ามาในภายหลัง โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อเป็นการอุทิศส่วนกุศลให้แก่ดวงวิญญาณของบรรพชนและญาติที่ล่วงลับ ซึ่งเชื่อว่าได้รับการปล่อยตัวมาจากภูมินรกที่ตนต้องจองจำอยู่เนื่องจากผลกรรมที่ตนได้เคยก่อไว้ตอนที่ยังมีชีวิตอยู่ โดยจะเริ่มปล่อยตัวจากภูมินรกในทุกวันแรม 1 ค่ำ เดือน 10 เพื่อมายังโลกมนุษย์ โดยมีจุดประสงค์ในการมาขอส่วนบุญจากลูกหลานญาติพี่น้องที่ได้เตรียมการอุทิศไว้ให้ เป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้ล่วงลับ หลังจากนั้นก็จะกลับไปยังภูมินรก ในวันแรม 15 ค่ำ เดือน 10
ประเพณีชิงเปรต และไงต่อใครแก้เนี่ยทำงานไม่ได้เลย
== การจัดหฺมฺรับ =
 
ช่วงระยะเวลาในการประกอบพิธีกรรมของประเพณีสารทเดือนสิบ จะมีขึ้นในวันแรม 1 ค่ำ ถึง วันแรม 15 ค่ำ เดือน 10 ของทุกปี แต่สำหรับวันที่ชาวใต้มักจะนิยมทำบุญกันมากคือ วันแรม 13 ถึง 15 ค่ำ ประเพณีวันสารทเดือนสิบ โดยในส่วนใหญ่แล้วจะตรงกับเดือน[[กันยายน]]
เมื่อถึงวันแรม 14 ค่ำเดือนสิบ ซึ่งเรียกกันว่า “วันหลองหฺมฺรับ” <sup>(หฺมฺรับ อ่านออกเสียง ม ควบ ร เป็นคำภาษาไทยถิ่นใต้)</sup> แต่ละครอบครัวหรือวงศ์ตระกูล จะร่วมกันนำข้าวของเครื่องใช้ต่าง ๆ มาจัดเป็นหฺมฺรับ สำหรับการจัดหฺมฺรับนั้น ไม่มีรูปแบบที่แน่นอน จะจัดเป็นรูปแบบใดก็ได้ แต่ลำดับการจัดของลงหฺมฺรับ จะเหมือน ๆ กัน คือ เริ่มต้นจะนำกระบุง กระจาด ถาด หรือกะละมัง มาเป็นภาชนะ แล้วรองก้นด้วยข้าวสาร ตามด้วยหอม กระเทียม พริก เกลือ กะปิ น้ำตาล และเครื่องปรุงอาหารที่จำเป็นอื่น ๆ ต่อไปก็ใส่ของจำพวกอาหารแห้ง เช่น ปลาเค็ม เนื้อเค็ม และผักผลไม้ที่เก็บไว้ได้นาน ๆ เช่น ฟักเขียว ฟักทอง มะพร้าว ขมิ้น มัน ลางสาด เงาะ ลองกอง กล้วย อ้อย ข้าวโพด ข่า ตะไคร้ ฯลฯ จากนั้นก็ใส่ของใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ไต้ น้ำมันมะพร้าว น้ำมันก๊าด ไม้ขีด หม้อ กระทะ ถ้วยชาม เข็ม ด้าย และเครื่องเซี่ยนหมาก สุดท้ายก็ใส่สิ่งที่เป็นหัวใจสำคัญของการจัดหฺมฺรับ คือ ขนม 5 อย่าง ( บางท่านบอกว่า 6 อย่าง ) ซึ่งขนมแต่ละอย่างล้วนมีความหมายในตัวเอง คือ [[ขนมพอง ]] เป็นสัญลักษณ์แทนแพ สำหรับผู้ล่วงลับใช้ล่องข้ามห้วงมหรรณพ [[ขนมลา ]] แทนเครื่องนุ่งห่มแพรพรรณ [[ขนมกง]] หรือ ขนมไข่ปลา แทนเครื่องประดับ [[ขนมดีซำ]] แทนเงินเบี้ย สำหรับใช้สอย [[ ขนมบ้า ]] แทนสะบ้า ใช้เล่น ในกรณีที่มีขนม 6 อย่าง ก็จะมี[[ขนมลาลอยมัน ]] ซึ่งใช้แทนฟูกหมอน เข้าไปด้วย
 
=== การยกจัดหฺมฺรับ ===
เมื่อถึงวันแรม 14 ค่ำเดือนสิบ ซึ่งเรียกกันว่า "วันหลองหฺมฺรับ”งหฺมฺรับ" <sup>(หฺมฺรับ อ่านออกเสียง ม ควบ ร เป็นคำภาษาไทยถิ่นใต้)</sup> แต่ละครอบครัวหรือวงศ์ตระกูล จะร่วมกันนำข้าวของเครื่องใช้ต่าง ๆ มาจัดเป็นหฺมฺรับ สำหรับการจัดหฺมฺรับนั้น ไม่มีรูปแบบที่แน่นอน จะจัดเป็นรูปแบบใดก็ได้ แต่ลำดับการจัดของลงหฺมฺรับ หฺมฺรับจะเหมือน ๆ กัน คือ เริ่มต้นจะนำกระบุง กระจาด ถาด หรือกะละมัง มาเป็นภาชนะ แล้วรองก้นด้วยข้าวสาร ตามด้วยหอม กระเทียม พริก เกลือ กะปิ น้ำตาล และเครื่องปรุงอาหารที่จำเป็นอื่น ๆ ต่อไปก็ใส่ของจำพวกอาหารแห้ง เช่น ปลาเค็ม เนื้อเค็ม และผักผลไม้ที่เก็บไว้ได้นาน เช่น ฟักเขียว ฟักทอง มะพร้าว ขมิ้น มัน ลางสาด เงาะ ลองกอง กล้วย อ้อย ข้าวโพด ข่า ตะไคร้ ฯลฯ จากนั้นก็ใส่ของใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ไต้ น้ำมันมะพร้าว น้ำมันก๊าด ไม้ขีด หม้อ กระทะ ถ้วยชาม เข็ม -ด้าย และเครื่องเซี่ยนหมาก เชี่ยนหมาก สุดท้ายก็ใส่สิ่งที่เป็นหัวใจสำคัญที่สุดของการจัดหฺมฺรับ คือ ขนม 5 อย่าง ( บางท่านบอกว่า 6 อย่าง ) ซึ่งขนมแต่ละอย่างล้วนมีความหมายในตัวเอง คือ ได้แก่ [[ขนมพอง ]] เป็นสัญลักษณ์แทนแพ สำหรับผู้ล่วงลับใช้ล่องข้ามห้วงมหรรณพ , [[ขนมลา ]] แทนเครื่องนุ่งห่มแพรพรรณ , [[ขนมกง]] หรือ ขนมไข่ปลา แทนเครื่องประดับ , [[ขนมดีซำ]] แทนเงินเบี้ย สำหรับใช้สอย, [[ ขนมบ้า ]] แทนสะบ้า ใช้เล่น ในกรณีที่มีขนม 6 อย่าง ก็จะมีเพิ่ม[[ขนมลาลอยมัน ]] ซึ่งใช้แทนฟูกหมอน เข้าไปด้วย
ในวันแรม 15 ค่ำ เดือนสิบ ซึ่งเป็นวันยกหมฺรับ ต่างก็จะนำหมฺรับพร้อม[[ภัตตาหาร]]ไปวัด โดยแต่ละคนจะแต่งตัวอย่างสะอาดและสวยงาม เพราะถือเป็นการทำบุญครั้งสำคัญ วัดที่ไปมักจะเป็นวัดใกล้บ้านหรือวัดที่ตนศรัทธา การยกหมฺรับไปวัดอาจต่างครอบครัวต่างไปหรืออาจจัดเป็นขบวนแห่ ทั้งนี้เพื่อต้องการความสนุกสนานรื่นเริงด้วย วัดบางแห่งอาจจะจัดให้มีการประกวดหฺมฺรับในส่วนของจังหวัดนครศรีธรรมราชนั้น ได้จัดให้มีขบวนแห่หมฺรับอย่างยิ่งใหญ่ตระการตาในงานเดือนสิบทุก ๆ ปี โดยมีองค์กรทั้งภาครัฐและองค์กรเอกชนต่างส่งหฺมฺรับของตนเข้าร่วมขบวนแห่และร่วมการประกวด ซึ่งในช่วงเทศกาลนี้สามารถจูงใจนักท่องเที่ยวให้มาท่องเที่ยวจังหวัดนครศรีธรรมราชมากยิ่งขึ้น
 
== การจัดยกหฺมฺรับ ==
== ประเพณีชิงเปรต ==
ในวันแรม 15 ค่ำ เดือนสิบ ซึ่งเป็นวันยกหมฺรับ ต่างก็จะนำหมฺรับพร้อม[[หมฺรับพร้อมภัตตาหาร]]ไปวัด โดยแต่ละคนจะแต่งตัวอย่างสะอาดและสวยงาม เพราะถือเป็นการทำบุญครั้งสำคัญ วัดที่ไปมักจะเป็นวัดใกล้บ้านหรือวัดที่ตนศรัทธา การยกหมฺรับไปวัดอาจต่างครอบครัวต่างไปหรืออาจจัดเป็นขบวนแห่ ทั้งนี้เพื่อต้องการความสนุกสนานรื่นเริงด้วย วัดบางแห่งอาจจะจัดให้มีการประกวด หฺมฺรับในส่วนของจังหวัดนครศรีธรรมราชนั้น ได้จะจัดให้มีขบวนแห่หมฺรับอย่างยิ่งใหญ่ตระการตาในงานเดือนสิบของทุก ๆ ปี โดยมีองค์กรทั้งภาครัฐและองค์กรเอกชนต่างส่งหฺมฺรับของตนเข้าร่วมขบวนแห่และร่วมการประกวด ซึ่งในช่วงเทศกาลนี้สามารถจูงใจนักท่องเที่ยวให้มาท่องเที่ยวจังหวัดนครศรีธรรมราชมากยิ่งขึ้น
'''ชิง[[เปรต]]''' เป็นประเพณีของ[[ภาคใต้]]ที่ทำกันใน[[วันสารทเดือนสิบ]] เป็นประเพณีที่ดำรงอยู่บนความเชื่อของการนับถือผีบรรพบุรุษผู้ล่วงลับ<ref>ประเพณี ตรังโซน:ชุมชนคนตรังออนไลน์</ref>ไปแล้วหากยังมีบาปอยู่จะกลายเป็นเปรตในภูมินรกปีหนึ่ง จะถูกปล่อยให้มาเมืองมนุษย์ 15 วัน โดยมาในวัน[[แรม]] 1 ค่ำ เดือน 10 ซึ่งถือว่าเป็น วัน "รับเปรต" หรือ วันสารทเล็ก ลูกหลานต้องเตรียมขนมมาเลี้ยงดูให้อิ่มหมีพีมัน และฝากกลับเมืองเปรต ในวันแรม 15 ค่ำ เดือน 10 นั่นคือวันส่งเปรตกลับคืนเมือง เรียกกันว่าวันสารทใหญ่<ref>ประเพณีชิงเปรต วันสารท สารสนเทศห้องสมุด สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดตรัง</ref>
 
เมื่อขบวนแห่หฺมฺรับมาถึงวัดแล้ว ก็จะร่วมกันถวายภัตตาหารแก่ภิกษุสงฆ์ เสร็จแล้วจะร่วมกัน "ตั้งเปรต" เพื่อแผ่ส่วนบุญส่วนกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ในอดีตมักตั้งเปรตบริเวณโคนต้นไม้หรือบริเวณกำแพงวัด แต่ปัจจุบันนิยมตั้งบน "หลาเปรต" หรือร้านเปรต โดยอาหารที่จะตั้งนั้นจะเป็นขนม 5 อย่างหรือ 6 อย่างดังกล่าวข้างต้น รวมถึงอาหารอื่น ๆ ที่บรรพชนชื่นชอบ เมื่อตั้งเปรตเสร็จพระสงฆ์จะสวดบังสุกุล โดยจับสายสิญจน์ที่ผูกไว้กับหลาเปรต เมื่อพิธีสงฆ์เสร็จสิ้น ผู้คนจะร่วมกัน "ชิงเปรต" โดยการแย่งชิงอาหารบนหลาเปรต ทั้งนี้นอกจากเพื่อความสนุกสนานแล้วยังมีความเชื่อว่า หากใครได้กินอาหารบนหลาเปรตจะได้รับกุศลแรง เป็นศิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัว
ผู้เฒ่าผู้แก่หลายคนได้ยืนยันว่า การชิงเปรตไม่เป็นความอัปมงคลแก่ผู้ชิงเปรตแต่อย่างใด ในทางตรงกันข้ามกลับถือว่า เป็นการได้บุญ เพราะเชื่อกันว่าหากลูกหลานของเปรตใดชิงได้ เปรตตนนั้นย่อมได้รับส่วนบุญส่วนกุศลนั้น<ref>ประเพณี ตรังโซน:ชุมชนคนตรังออนไลน์</ref>
 
== ประเพณีชิงเปรต ==
=== พิธีกรรม ===
'''ชิง[[เปรต]]''' เป็นประเพณีของ[[ภาคใต้]]ที่ทำกันใน[[วันสารทเดือนสิบ]] เป็นประเพณีที่ดำรงอยู่บนความเชื่อของการนับถือผีบรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้ว<ref>ประเพณี ตรังโซน:ชุมชนคนตรังออนไลน์</ref>ไปแล้ว หากยังมีบาปอยู่จะกลายเป็นเปรตในภูมินรกปีหนึ่ง จะถูกปล่อยให้มาเมืองมนุษย์ 15 วัน โดยมาในวัน[[แรม]] 1 ค่ำ เดือน 10 ซึ่งถือว่าเป็น วัน "รับเปรต" หรือ วันสารทเล็ก ลูกหลานต้องเตรียมขนมมาเลี้ยงดูให้อิ่มหมีพีมัน และฝากกลับเมืองเปรต ในวันแรม 15 ค่ำ เดือน 10 นั่นนั้นคือวันส่งเปรตกลับคืนเมือง เรียกกันว่าวันสารทใหญ่<ref>ประเพณีชิงเปรต วันสารท สารสนเทศห้องสมุด สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดตรัง</ref>
การตั้งเปรตและชิงเปรต จะกระทำกันในวันยกหมฺรับไปวัดหลักๆ ก็จะมี[[ขนมพอง]] [[ขนมลา]] [[ขนมเบซำ]] (ดีซำ) นอกจากนี้ก็อาจจะมีเป็นผลไม้หรืออาหารแห้งอื่นๆ ที่บรรพบุรุษที่เป็นเปรตชอบ ไปวางรวมกันไว้บน "ร้านเปรต" หรือ หลาเปรต หลังจากที่พระสงฆ์ได้ทำพิธีกรรมและกำลังฉันเพล ชาวบ้านก็จะออกมาตักบาตรข้าวสวย และเริ่มชิงเปรตกัน ซึ่งขั้นตอนนี้ก็จะมีทั้งความชุลมุนและความสนุกสนานผสมกัน เป็นที่เฮฮาของบรรดาผู้ที่มาชิงเปรต
 
ผู้เฒ่าผู้แก่หลายคนได้ยืนยันว่า การชิงเปรตไม่เป็นความอัปมงคลแก่ผู้ชิงเปรตแต่อย่างใด ในทางตรงกันข้ามกลับถือว่า เป็นการได้บุญ เพราะเชื่อกันว่าหากลูกหลานของเปรตใดชิงได้ เปรตตนนั้นย่อมได้รับส่วนบุญส่วนกุศลนั้น<ref>ประเพณี ตรังโซน:ชุมชนคนตรังออนไลน์</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:ประเพณีไทยภาคใต้]]
{{โครงวัฒนธรรม}}