ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โอมูอามูอา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 37:
| magnitude = 19.7 to >27.5<ref name="pseudoMPEC" /><ref group="n">Range at which the object is expected to be observable. Brightness peaked at 19.7 mag on 18 October 2017, and fades below 27.5 mag (the limit of [[Hubble Space Telescope]] for fast-moving objects) around 1 January 2018. By late 2019, it should dim to 34 mag.</ref><ref name="HubbleProposal" />
}}
'''โอมัวมัวมูอามูอา''' ({{lang-en|ʻOumuamua}}; ชื่ออย่างเป็นทางการ '''1I/2017 U1''') เป็นวัตถุระหว่างดาวฤกษ์วัตถุแรกที่ทราบที่ผ่านเข้า[[ระบบสุริยะ]] รอเบิร์ต เวริก (Robert Weryk) ค้นพบบนแนววิถีไฮเปอร์บอลิกที่[[ความเยื้องศูนย์กลางของวงโคจร|เยื้องศูนย์กลาง]]มากเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2560 หลังผ่านจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด 40 วัน มีการสังเกตครั้งแรกโดยกล้องโทรทรรศน์ แพนสตาส์ (Pan-STARRS) เมื่อวัตถุมีระยะห่างจากโลกประมาณ 85 เท่าของระยะทางโลก–ดวงจันทร์<ref name="Gemini">{{cite press release |url=http://www.gemini.edu/node/12729 |title=First Known Interstellar Visitor is an 'Oddball' |website=Gemini Observatory |date=20 November 2017 |access-date=28 November 2017}}</ref> โดยมุ่งออกจากดวงอาทิตย์ เดิมคาดว่าเป็น[[ดาวหาง]] แต่หนึ่งสัปดาห์ถัดมามีการจำแนกใหม่เป็น[[ดาวเคราะห์น้อย]] ซึ่งขณะนั้นเป็นวัตถุระหว่างดาวฤกษ์กลุ่มใหม่วัตถุแรก เนื่องจากแนววิถีไฮเปอร์บอลิกมากของมัน สุดท้ายมันจะออกจากระบบสุริยะและกลับสู่อวกาศระหว่างดาวฤกษ์อีกครั้ง เวลาที่วัตถุนี้เดินทางท่ามกลางดาวฤกษ์ใน[[จานดาราจักร]]นั้นไม่ทราบ
 
== อ้างอิง ==