ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เซิน หง็อก ถั่ญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แอนเดอร์สัน ย้ายหน้า เซิง งอกทัญ ไปยัง เซิน หง็อก ถั่ญ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ผู้นำประเทศ
| name = เซิน หง็อก ถั่ญ
| name = เซิง งอกทัญ
| image =Son Ngoc Thanh.jpg
| order = นายกรัฐมนตรีกัมพูชา
บรรทัด 8:
| successor = [[สมเด็จกรมพระสีสุวัตถิ์ มุนีเรศ]]
| birth_date = 7 ธันวาคม พ.ศ. 2451
| birth_place = ตราจ่าวิญ
| death_date = 8 สิงหาคม พ.ศ. 2520
| death_place = เวียดนาม
บรรทัด 20:
| president2 =
| primeminister2 =
| predecessor2 = พระ[[สีสุวัตถิ์ สิริมตะ]]
| successor2 = [[ฮาง ทุน ฮัก]]
| party = [[กรมประชาชน]] [[เขมรเสรี]]
บรรทัด 29:
}}
 
'''เซิงเซิน งอกทัญหง็อก ถั่ญ''' (Son Ngoc Thanh; [[ภาษาเวียดนาม]]: {{lang-vi|Sơn Ngọc Thành}}; [[ภาษาเขมร]]: {{lang-km|សឺង ង៉ុកថាញ់}}) เป็นนักการเมืองชาตินิยมและนิยมสาธารณรัฐในกัมพูชา มีประวัติการต่อสู้ที่ยาวนานในฐานะกบฏผู้ต่อต้านรัฐบาลและได้เป็นนายกรัฐมนตรีในเวลาสั้นๆ
 
== ชีวิตช่วงแรก ==
งอกทัญเซินเกิดที่เมือง[[ตราจ่าวิญ]] ใน[[เวียดนามใต้]]เมื่อ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2451 บิดาเป็นชาวเขมรต่ำ มารดาเป็นลูกครึ่งจีน-เขมรต่ำ<ref>Corfield (2009), p. 35 </ref> ผ่านการศึกษาใน[[ไซ่ง่อน]]และ[[ปารีส]] เรียนกฎหมายอีก 1 ปีแล้วจึงกลับสู่อินโดจีน โดยมาทำงานเป็นพนักงานฝ่ายปกครองใน[[โพธิสัตว์]]และอัยการใน[[พนมเปญ]]ก่อนจะเป็นรองผู้อำนวยการสถาบันพุทธศาสนา<ref name="kiernan21">Kiernan B (2004), p. 21</ref> งอกทัญเซินร่วมมือกับ[[ปัช เชือน]] ออกหนังสือพิมพ์ภาษาเขมรฉบับแรกชื่อ ''นครวัต'' เมื่อ พ.ศ. 2479 แนวคิดของหนังสือพิมพ์นี้คือเรียกร้องให้ชาวเขมรต่อต้านการครอบงำทางการค้าของต่างชาติ และเริ่มต้นธุรกิจของตนเอง แนวคิดของทัญเป็นพวกฝ่ายขวา นิยมสาธารณรัฐ ทำให้เขากลายเป็นฝ่ายตรงข้ามกับพระ[[นโรดม สีหนุ]]เขายังให้การสนับสนุนความร่วมมือระหว่างเอเชียและสนับสนุนการสอนภาษาเวียดนามในโรงเรียน
 
== ความเกี่ยวข้องกับรัฐบาล ==
หลังจากการต่อต้านฝรั่งเศสใน พ.ศ. 2482 งอกทัญเซินได้ลี้ภัยไปยัง[[ญี่ปุ่น]]และกลับมาเมื่อพระนโรดม สีหนุประกาศเอกราชของกัมพูชาเมื่อ 12 มีนาคม พ.ศ. 2488 ระหว่างการยึดครองของญี่ปุ่น และได้เป็นนายกรัฐมนตรีในเดือนสิงหาคม เมื่อมีการฟื้นฟูอำนาจของ[[ฝรั่งเศส]]ในเดือนตุลาคม งอกทัญเซินถูกจับกุมและถูกส่งตัวไปยังไซ่ง่อนและฝรั่งเศสโดยลำดับ<ref name=kiernan51>Kiernan, p.51</ref> ผู้ที่สนับสนุนเขาหลายคนเข้าร่วมกับ[[เขมรอิสระ]]เพื่อต่อสู้กับเจ้าอาณานิคม งอกทัญเซินได้กลับสู่กัมพูชาเมื่อ พ.ศ. 2494 แต่เขาปฏิเสธตำแหน่งรัฐมนตรี โดยหันไปร่วมมือกับผู้นำเขมรอิสระหลายคนและออกหนังสือพิมพ์ Khmer Kraok เพื่อสนับสนุนให้ต่อต้านการปกครองของฝรั่งเศส และถูกสั่งห้ามพิมพ์อย่างรวดเร็วใน พ.ศ. 2495 หลังจากนั้น งอกทัญเซินจึงออกจากเมืองไปจัดตั้งกลุ่มต่อต้านในเขตป่าของ[[จังหวัดเสียมราฐ]]
 
งอกทัญเซินพยายามเข้าควบคุมเขมรอิสระและกลุ่มผู้มีอิทธิพลในท้องถิ่น ซึ่งในจำนวนนี้มีพระ[[นโรดม จันทรังสี]] และพุทธ ฉายสนับสนุนการเป็นผู้นำของเขา หลังกัมพูชาได้รับเอกราช งอกทัญเซินได้รับการสนับสนุนมากจากชาวแขมร์กรอมแต่มีอิทธิพลน้อยภายในประเทศกัมพูชา และยืนอยู่ตรงข้ามกับกลุ่มฝ่ายซ้าย
 
== เขมรเสรี ==
หลังจากสงครามอินโดจีนครั้งแรกสงบลงเมื่อ พ.ศ. 2497 งอกทัญเซินได้จัดตั้งกองทหารที่เรียก[[เขมรเสรี]]ในฐานที่มั่นเดิมของเขาที่เสียมราฐเพื่อต่อต้านพระนโรดม สีหนุ ซึ่งทรงเริ่มเห็นว่าเขาเป็นศัตรูสำคัญ ใน พ.ศ. 2502 กลุ่มเขมรเสรีกล่าวหาว่าพระนโรดม สีหนุเป็นคอมมิวนิสต์เพราะร่วมมือกับ[[เวียดนามเหนือ]]<ref name=kiernan186>Kiernan, p.186</ref> งอกทัญเซินได้เคลื่อนไหวตามแนวชายแดนไทยและเวียดนามใต้ และตั้งสถานีวิทยุออกอากาศโจมตีพระนโรดม สีหนุ หลังการรัฐประหาร พ.ศ. 2513 ทัญได้รับเชิญให้เข้าร่วมรัฐบาล[[สาธารณรัฐเขมร]]ของ[[ลน นล]] และนำกองกำลังเขมรเสรีเข้าร่วมด้วย
 
ใน พ.ศ. 2515 งอกทัญเซินได้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี แต่หลังจากเป็นเป้าหมายของการวางระเบิด (คาดว่าดำเนินการโดยฝ่ายของ [[ลน นน]]) งอกทัญเซินจึงลี้ภัยไปเวียดนามใต้ หลังจากที่ฝ่ายเวียดนามเหนือได้รับชัยชนะ งอกทัญเซินถูกจับกุมในเวียดนามใต้ และถูกคุมขังจนเสียชีวิตในคุกเมื่อ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2520 รวมอายุได้ 69 ปี
 
==อ้างอิง==
 
<references/>
* Corfield, Justin J., ''The History of Cambodia'', ABC-CLIO, 2009, ISBN 0313357234
* Kiernan, Ben; ''How Pol Pot came to power'', ''Yale University Press'', 2004, ISBN 9780300102628
 
{{นายกรัฐมนตรีกัมพูชา}}
 
{{อายุขัย|2451|2520}}
[[หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีกัมพูชา]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดจ่าวิญ]]
[[หมวดหมู่:ชาวกัมพูชาเชื้อสายจีน]]
[[หมวดหมู่:ชาวกัมพูชาเชื้อสายเวียดนาม]]
{{เกิดปี|2451}}
{{ตายปี|2520}}