ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้ากรมพระอนุรักษ์เทเวศร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
| ภาพ = ไฟล์:Anurak Devesh.jpg
| พระนาม =
| พระนามเต็ม = สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระอนุรักษ์เทเวศร์ราชวังบวรสถานพิมุข
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี]]
| วันประสูติ = [[28 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2289]]
| วันสิ้นพระชนม์ = [[20 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2349]] <ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ| ชื่อหนังสือ = ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช| จังหวัด = กรุงเทพ| พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์บรรณกิจ| ปี = พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2544| ISBN = 974-222-648-2| หน้า = | จำนวนหน้า = 490}}</ref>
| วันสิ้นพระชนม์ = [[20 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2349]] <ref>{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ
| ชื่อหนังสือ = ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
| URL =
| จังหวัด = กรุงเทพ
| พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์บรรณกิจ
| ปี = พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2544
| ISBN = 974-222-648-2
| หน้า = หน้าที่
| จำนวนหน้า = 490
}}</ref>
| พระอิสริยยศ = กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข
| ฐานันดรศักดิ์ = สมเด็จเจ้าฟ้า
เส้น 26 ⟶ 16:
| พระราชโอรส/ธิดา = 35 พระองค์
}}
'''กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข''' พระนามเดิม '''ทองอิน''' (28 มีนาคม พ.ศ. 2289 - 20 ธันวาคม พ.ศ. 2349) เป็นพระภาคิไนยใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] และเป็นพระโอรสพระองค์ใหญ่ใน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสา กรมพระยาเทพสุดาวดี]] กับ[[พระอินทรรักษา (เสม)]]
 
'''สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าทองอิน กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข''' (รับราชการในสมัย[[28 มีนาคมกรุงธนบุรี]] [[เป็นที่หลวงฤทธิ์นายเวร จนกระทั่ง พ.ศ. 2289]]2323 -ได้เลื่อนเป็นพระยาสุริยอภัย ผู้สำเร็จราชการ[[20 ธันวาคมนครราชสีมา|เมืองนครราชสีมา]] เป็นกำลังสำคัญในการปราบปรามจลาจลในช่วงปลายรัชกาล[[พ.ศ. 2349สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]]) เป็นพระภาคิไนย [[เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงสถาปนา[[ราชวงศ์จักรี]]ในปี และเป็นพระโอรสพ.ศ. 2325 โปรดให้สถาปนาพระองค์ใหญ่ใน[[เป็น '''สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์หลานเธอ เจ้าฟ้าสา กรมพระยาเทพสุดาวดี]]หลวงอนุรักษ์เทเวศร์''' กับสุดท้ายได้เลื่อนขึ้นเป็น "'''[[กรมพระอินทรรักษาราชวังบวรสถานพิมุข]]'''" (เสม)[[วังหลัง]] )
 
สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าทองอิน กรมพระราชวังบวรสถานพิมุขรับราชการในสมัย[[กรุงธนบุรี]] เป็นที่หลวงฤทธิ์นายเวร จนกระทั่ง พ.ศ. 2323 ได้เลื่อนเป็นพระยาสุริยอภัย ผู้สำเร็จราชการ[[นครราชสีมา|เมืองนครราชสีมา]] เป็นกำลังสำคัญในการปราบปรามจลาจลในช่วงปลายรัชกาล[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] ต่อมา เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงสถาปนา[[พระบรมราชวงศ์จักรี]]ในปี พ.ศ. 2325 โปรดให้สถาปนาพระองค์เป็น '''สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าทองอิน''' และได้เลื่อนพระอิสริยยศขึ้นเป็น[[เจ้าฟ้าต่างกรม]]ที่ '''สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์''' ต่อมาได้เลื่อนขึ้นเป็น "กรมพระ" ดำรงพระเกียรติยศในที่ "[[กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข]]" ([[วังหลัง]])
 
พระองค์ทรงพระประชวรและเสด็จทิวงคตเมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือนอ้าย ปีขาล จุลศักราช 1168 ตรงกับวันพุธที่ [[17 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2349]] สิริพระชนมายุ 61 พรรษา ในปี พ.ศ. 2350 มีพระราชพิธีพระราชเพลิงพระศพ ณ [[พระเมรุมาศ]] [[ท้องสนามหลวง]] โดยพระอัฐิของพระองค์ถูกนำไปประดิษฐานที่[[หอพระนาก]] [[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] ส่วนพระสรีรางคารถูกอัญเชิญไปประดิษฐาน ณ ผ้าทิพย์ฐานพระประธานภายในอุโบสถ [[วัดบพิตรพิมุขวรวิหาร]]<ref name="กรมพระราชวังหลัง"/>
 
== พระประวัติ ==
สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข เป็นพระโอรสใน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสา กรมพระยาเทพสุดาวดี]] และ[[พระอินทรรักษา (เสม)]] มีพระนามเดิมว่า ทองอิน ประสูติเมื่อวันจันทร์ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 5 ปีขาล ยังเป็น สัปตศก จุลศักราช 1107 ตรงกับวันจันทร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2289 ปีที่ 14 มีพระอนุชาและพระขนิษฐา คือ
* [[สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบุญเมือง กรมหลวงธิเบศรบดินทร์]] พระนามเดิม ''บุญเมือง''
* [[สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าทองจีน กรมหลวงนรินทรรณเรศร์]] พระนามเดิม ''ทองจีน''
* [[สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าทองคำ กรมขุนเทพนารี]] พระนามเดิม ''ทองคำ''
 
นอกจากนี้ พระองค์ยัง มีพระอนุชาต่างมารดา ชื่อ [[พระองค์เจ้าขุนเณร]] พระองค์เจ้าขุนเณรผู้นี้เป็นนักรบคู่ใจของพระองค์ในการทำศึกตลอดมา พระองค์ผนวช 2 ครั้ง ครั้งแรกในสมัย[[กรุงศรีอยุธยา]] และผนวชอีกครั้งเมื่อ พ.ศ. 2335 ที่[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]]
 
== พระโอรสและพระธิดา ==
สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข ทรงอภิเษกสมรสกับ[[เจ้าครอกทองอยู่]] พระราชธิดาใน[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] [[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]]<ref name="กรมพระราชวังหลัง">วชิราวุธานุสรณ์สาร, [http://www.nlt.go.th/Data/Vachiravut/V26_1/v26_1.pdf กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข (กรมพระราชวังหลัง) แห่งกรุงรัตนโกสินทร์] มูลนิธิพระบรมราชนุสรณ์พระบาทสมเด็จพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเจ้าอยู่หัวในพระบรมราชูปถัมภ์, ปีที่ ๒๖, ฉบับที่ ๑, ๑ มกราคม ๒๕๕๐ </ref> มีพระโอรสและพระธิดารวม 6 พระองค์ ได้รับการยกฐานันดรศักดิ์เป็นพระองค์เจ้า ต่อมา[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงบัญญัติให้ใช้คำนำหน้าพระนามว่า "[[พระสัมพันธวงศ์เธอ]] " คือ
* [[พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปาน กรมหมื่นนราเทเวศร์]] (พ.ศ. 2313 - พ.ศ. 2368) ต้น[[:หมวดหมู่:ราชสกุลปาลกะวงศ์|ราชสกุลปาลกะวงศ์]]
* [[พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากระจับ]] (ประสูติ พ.ศ. 2315 - พ.ศ. 2374 )
เส้น 109 ⟶ 98:
{{เจ้านายทรงกรมสมัยกรุงรัตนโกสินทร์}}
 
{{อายุขัย|2289|2349}}
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2289]]
[[หมวดหมู่:เจ้าฟ้า|ทองอิน]]
[[หมวดหมู่:รัชกาลที่ 1]]
[[หมวดหมู่:กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข]]
[[หมวดหมู่:ขุนนางในสมัยกรุงธนบุรี]]
{{ประสูติปี|2289}}{{สิ้นพระชนม์ปี|2349}}