ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุหนัต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ควรยกไปเขียนบทความการแพทย์
บรรทัด 1:
{{อิสลาม}}
'''คีตาน''' ({{lang-ar|ختان}}) คนไทยมักเรียกว่า '''สุหนัต'''<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 1248</ref> (สุ-หนัด) หมายถึง พิธี[[การขริบหนังหุ้มปลายองคชาต]]ตามข้อกำหนดใน[[ศาสนาอิสลาม]] คำว่า สุหนัต มาจากคำว่า "ซูนัต" ใน[[ภาษามลายู]] ซึ่งมาจากคำว่า "[[ซุนนะฮ์]]" ใน[[ภาษาอาหรับ]] ซึ่งหมายถึงแบบแผนการปฏิบัติของ[[นบี]][[มุฮัมมัด]]
 
การเรียกว่า "เข้าสุนัต" มาจากวลี "มาซุก ญาวี" (แปลว่า เข้าญาวี) ในภาษามลายู หมายถึง เข้า (ศาสนาของ) คนญาวี (มลายูมุสลิม) ด้วยการขริบหนังที่ปลายอวัยวะเพศ
 
การขริบหนังองคชาตเป็นประเพณีของชาว[[มุสลิม]] [[ชาวยิว]] และ[[คริสต์ศาสนิกชน]]บางนิกาย เช่นเดียวกับเผ่าหลายเผ่าใน[[แอฟริกา]] ผู้ที่นับถือศาสนาอื่นนิยมขริบเนื่องจากเหตุผลทางสุขภาพ
 
== ประโยชน์ของสุหนัต ==
การขริบหนังหุ้มปลายองคชาตช่วยลดโรคติดต่อทางเพศ ล่าสุดมีการวิจัยพบว่า ผู้ที่ทำสุนัตแล้วสามารถลดการติด[[เอดส์]]ได้ถึง 60 เปอร์เซ็นต์ [[องค์การอนามัยโลก]]และ[[สหประชาชาติ]] ได้แนะนำให้ผู้คนในประเทศที่มีผู้ติดเอดส์มาก ขริบปลายหนังองคชาต <ref>http://www.metro.se/se/article/2007/03/28/15/5056-45/index.xml</ref>
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/สุหนัต"