ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26:
'''สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี''' เป็นพระราชธิดาองค์ที่ 3 ของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] กับ[[พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา]] ประสูติเมื่อวันเสาร์ ที่ [[4 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2429]] พระองค์ได้รับการโปรดเกล้าฯ ให้รับราชการในหน้าที่ราชเลขานุการิณีในพระองค์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนี้ เมื่อสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงเสด็จประพาสยุโรปเมื่อปี พ.ศ. 2450 ก็มีพระราชหัตถเลขามาถึงพระเจ้าลูกเธอพระองค์นี้ ซึ่งพระราชหัตเลขาเหล่านั้นได้นำมารวมรวบเป็นหนังสือพระราชนิพนธ์[[ไกลบ้าน]]ในเวลาต่อมา
 
หลังจากมี[[การเปลี่ยนแปลงการปกครอง]]เมื่อปีปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475]] พระองค์ตัดสินพระทัยเสด็จออกไปประทับที่เมือง[[เมืองบันดุง]] [[ประเทศอินโดนีเซีย]] พร้อมกับครอบครัวของ[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต]] และสิ้นพระชนม์ที่นั่นเมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2478
 
== พระประวัติ ==
 
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารีขัตติยนารี เป็นพระราชธิดาองค์ที่ 3 ของใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] กับ[[พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา]] ประสูติ ณ วันเสาร์ ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2429 เมื่อแรกประสูติมีพระนามว่า "''พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้านิภานภดล''"
 
เมื่อปี พ.ศ. 2431 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระราชโอรสและพระราชธิดาที่ประสูติแต่พระอรรคชายาเธอขึ้นเป็นเจ้าฟ้า<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2431/008/61_1.PDF ประกาศเลื่อนพระนามพระอัครชายาเธอและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ พระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้า มีพระบรมราชโองการสั่งให้สถาปนา พระอัครชายาเธอ หม่อมเจ้าอุบลรัตนนารีมาศ และพระอัครชายาเธอ หม่อมเจ้าสาย ขึ้นเป็น พระองค์เจ้า และสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ พระเจ้าลูกเธอ และเจ้าฟ้า], เล่ม ๕, ตอน ๘, ๒๕ มิถุนายน พ.ศ. ๑๘๘๘, หน้า ๖๑ </ref> ดังนั้น พระองค์จึงได้รับสถาปนาขึ้นเป็น "''พระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้านิภานภดล''" หลังจากนั้น ในปี [[พ.ศ. 2441]] พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระสุพรรณบัตรเฉลิมพระนามาภิไธยสถาปนาขึ้นเป็น "''สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี''"<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2441/042/441.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ในการพระราชทานพระสุพรรณบัตร], เล่ม ๑๕, ตอน ๔๒, ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๑๘๙๙, หน้า ๔๔๑ </ref> หลังจากนั้น [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มีพระบรมราชโองการสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นเจ้าฟ้าต่างกรมฝ่ายใน มีพระนามว่า "''สมเด็จพระเจ้าลูกเธอน้องนางเธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี''"<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2468/A/216.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาเลื่อนกรมตั้งกรม และตั้งเจ้าพระยา], เล่ม ๔๒, ตอน ๐ ก, ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๘, หน้า ๒๑๖ </ref> พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตรัสเรียกพระองค์ว่า "หญิงเล็กนิภา" และชาววังเรียกพระองค์ว่า "สมเด็จหญิงน้อย"
 
พระองค์มีพระเชษฐาและพระเชษฐภคินีที่ประสูติร่วมพระมารดาอีก 3 พระองค์ ซึ่งมีพระนามที่คล้องจองกัน ได้แก่ [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์|สมเด็จเจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร ]] [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านภาจรจำรัสศรี|สมเด็จเจ้าฟ้านภาจรจำรัสศรี]] [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนภดารา กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา|สมเด็จเจ้าฟ้ามาลินีนพดารา]] และสมเด็จเจ้าฟ้านิภานภดล
 
หลังจากมี[[การเปลี่ยนแปลงการปกครอง]]เมื่อปีปฏิวัติสยาม [[พ.ศ. 2475]] สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้านิภานภดล กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารีขัตติยนารี ซึ่งในขณะนั้นถือได้ว่าพระองค์ทรงอยู่เพียงลำพังพระองค์เดียว เนื่องจากพระมารดา พระเชษฐา และพระเชษฐภคินีต่างสิ้นพระชนม์ลงหมด ดังนั้น พระองค์จึงตัดสินพระทัยเสด็จออกไปประทับที่เมือง[[เมืองบันดุง]] [[ประเทศอินโดนีเซีย]] พร้อมกับครอบครัวของ[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต]] ซึ่งเป็นพระเชษฐาต่างพระมารดา<ref>จุลลดา ภักดีภูมินทร์, [http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetailsql.asp?stcolumnid=2142&stissueid=2533&stcolcatid=2&stauthorid=13 “น่ารักน่าชม สมกับเป็นเจ้าฟ้า”], สกุลไทย, ฉบับที่ 2533, ปีที่ 49, ประจำวันอังคารที่ 6 พฤษภาคม 2546</ref> และเสด็จสิ้นพระชนม์ที่นั่น เมื่อวันที่ [[29 มกราคม]] [[พ.ศ. 2478]]
 
[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ได้กล่าวถึงพระองค์ไว้ในคำนิยามพระนิพนธ์เรื่อง เที่ยวเมืองพม่า ว่า “''น่ารักน่าชม สมกับเป็นเจ้าฟ้า''” พร้อมทั้งทรงสรรเสริญว่า “''ทรงพระคุณอย่างเป็นขัติยนารีแท้ทุกสถาน ทรงพิสูจน์ให้ปรากฏแล้ว ทั้งในเวลาที่มีความสุข และในเวลาได้รับความทุกข์ยาก สมควรกับที่ทรงสร้อยพระนามกรมว่า “ขัติยนารี” เป็นอนุสรณ์อยู่กับพระนามตลอดไป''” <ref>[[จุลลดา ภักดีภูมินทร์]], [http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetailsql.asp?stcolumnid=403&stissueid=2413&stcolcatid=2&stauthorid=13 พนักงานห้องพระบรรทม], สกุลไทย, ฉบับที่ 2413, ปีที่ 47, ประจำวันอังคารที่ 16 มกราคม 2544</ref>
 
== พระกรณียกิจ ==