ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมขลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 48:
|เลียบรอบขอบทวีป|อยู่กลางกลีบเมฆา
|เชยชมยมนา|เฝ้ารักษาสินธุ}}
== คติวามเชื่อและการบูชาในปัจจุบัน==
อารยธรรมไทยที่เกิดขึ้นบนพื้นฐานของการเกษตร คติการบูชาเทพแห่งฝนและน้ำโดยตรง มาจากอินเดีย คือพระวรุณหรือพระพิรุณ ดังมีหลักฐานปรากฏตามโบราณสถานต่างๆ ในสมัยนั้นโดยเน้นการเป็นเทพประจำทิศ จึงน่าจะได้รับคติการบูชา พระมณีเมขลา หรือ พระมณีเมกไล จากอินเดียใต้เข้ามาด้วย มณีเมขลา ใกล้ชิดกับคนไทยมากกว่าพระวรุณ เพราะเป็นเทวนารีปรากฏในพุทธศาสนา และมีบทบาทสำคัญยิ่ง คือเป็นเทวดาที่ทำให้การบำเพ็ญวิริยบารมีของพระมหาชนกสัมฤทธิ์ผลเป็นที่ประจักษ์ คนในอดีตรู้จักพระมณีเมขลา ทั้งในมหาชนกชาดก และทั้งเป็นเทวีแห่งความอุดมสมบูรณ์ จนแม้ต่อมาจะเหลือแต่นิทานเรื่องเมขลา-รามสูรตามชนบทไกลๆ เวลาฝนแล้ง เมื่อหลายสิบปีมาแล้วยังมีการเอารูปภาพเมขลาล่อแก้วมาตั้งบูชาเพื่อขอฝน แต่ดูเหมือนจะในช่วงสมัยรัตนโกสินทร์นี้เอง ที่นิทานเมขลา-รามสูร ถูกปัญญาชนผู้รู้หนังสือกำหนดให้เป็นเพียงนิทานอย่างแท้จริง แล้วคนไทยทุกระดับเมื่อจะบูชาเทพ-เทวีแห่งน้ำ ก็หันไปบูชาพระแม่คงคาของอินเดีย
เฉพาะกรณีพระวรุณ เทวศาสตร์ไทยยังคงรักษาคติการบูชาพระวรุณ ในประติมานวิทยาของพระพิรุณทรงนาคจนถึงปัจจุบันนี้ ส่วนพระมณีเมขลา ก็ดังที่ได้กล่าวแล้วว่ายังมีการบูชาหลงเหลืออยู่ในชนบทไกลๆ และในตำราของทางราชสำนัก ปรากฏชื่อในการออกนามเพื่อร่วมเป็นสักขีพยานแต่เพียงเท่นั้น
 
== เมขลาในประเทศต่าง ๆ ==
เส้น 57 ⟶ 54:
 
=== ประเทศจีน ===
ตามคติจีน มีเทพนารีที่ใกล้เคียงกับเมขลา นามชื่อ '''เง็กนึ้ง''' ({{zh|c=玉女|p=Yùnǚ}}; แปลว่า "นางหยก") หรือ ''[['เตียนบ๊อ]]''' (แปลว่า "เจ้าแห่งสายฟ้า") ต่างกับเมขลาคือถือธงหรือกระจกเงาให้มีแสงแวบวับเป็นสัญญาณให้ ''[[ลุ่ยกง]]'' (รามสูรตามคติจีน) รู้ก่อนว่าผู้ใดมีใจชั่วควรลงโทษด้วยการใช้ฟ้าผ่า<ref>อุทัย สินธุสาร. ''สารานุกรมไทย''. กรุงเทพฯ:อาศรมแห่งศิลป์และศาสตร์, 2520. หน้า 3500-3501</ref>
 
=== ประเทศศรีลังกา ===
เส้น 77 ⟶ 74:
* [[พระมหาชนก]]
* [[รามสูร]]
 
{{รามเกียรติ์}}
[[หมวดหมู่:ตัวละครในวรรณคดีไทย]]
[[หมวดหมู่:เทวดา]]
{{เทวดา}}
{{โครง}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เมขลา"