ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:มุมมองที่เป็นกลาง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 7:
 
== คำอธิบายมุมมองที่เป็นกลาง ==
โดยทั่วไปแล้ว การบรรลุสิ่งที่ประชาคมวิกิพีเดียเข้าใจว่าเป็นคือ "ความเป็นกลาง" นั้นหมายถึง การวิเคราะห์แหล่งข้อมูลอันที่น่าเชื่อถือหลากหลายอย่างระมัดระวังและมีวิจารณญาณ จากนั้นจึงแล้วพยายามที่จะถ่ายทอดผลงานเขียนให้สารสนเทศในแหล่งข้อมูลเหล่านั้นแก่ผู้อ่านอย่างชัดเจนยุติธรรม เป็นสัดส่วน และถูกต้องปราศจากความลำเอียงให้มากเท่าที่มากได้ วิกิพีเดียมีเป้าหมายที่จะ'''มุ่งอธิบายความขัดแย้งข้อพิพาท แต่ไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยว''' มีระเบียบอันเข้มงวดบางข้อที่กล่าวถึงเรื่องนี้ผู้เขียน ซึ่งขึ้นอยู่กับเจตนาดีโดยธรรมชาติมีมุมมองเป็นของผู้ใช้ตน ผู้ซึ่งจะต้องนำเสนอข้อมูลควรพยายามโดยสุจริตเพื่อจัดหาสารสนเทศที่สมบูรณ์ แต่จะและไม่นำเสนอประเด็นใดประเด็นสนับสนุนมุมมองจำเพาะหนึ่งเหนืออีกมุมมองหนึ่งอย่างเดียว อย่างไรก็ตามฉะนั้น การปฏิบัติตามหลักการด้านล่างนี้มุมมองที่เป็นกลางจึงไม่ได้หมายความถึง ร่วมกับหลักการของ "การตัดบางมุมมองออก แต่ให้รวมมุมมองทั้งหมดที่พิสูจน์ยืนยันได้"ซึ่งมีน้ำหนักเพียงพอ จะช่วยทำให้การปฏิบัติตามหลักการต่อไปนี้เพื่อบรรลุระดับความเป็นกลางซึ่งเหมาะสมสำหรับเนื้อหาในสารานุกรม
 
* '''ไม่ถือว่าเลี่ยงการระบุความคิดเห็นเป็นข้อเท็จจริง''' บ่อยครั้งที่ปกติบทความจะมีกล่าวถึงข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับความคิดเห็นความเห็นสำคัญที่ได้แสดงซึ่งมีการแสดงออกเกี่ยวกับหัวเรื่องนั้น อย่างไรก็ตามทว่า ความคิดเห็นความเห็นเหล่านี้ไม่ควรถูกแสดงระบุในเสียงนามของวิกิพีเดีย แต่ความเห็นเหล่านั้นควรจะถือว่าเป็นระบุในข้อความว่ามาจากแหล่งข้อมูลแหล่งใดแหล่งหนึ่งโดยเฉพาะที่มาจำเพาะ หรือเมื่อสมเหตุสมผล ก็สามารถอธิบายว่าเป็นมุมมองที่แพร่หลายเมื่อพิสูจน์ได้ ฯลฯ ตัวอย่างเช่น บทความไม่ควรนำเสนอว่า "เหล้า ไวน์ เบียร์ เป็นสิ่งชั่วร้าย" แต่อาจนำเสนอว่า "มุมมองส่วนใหญ่นาย x อธิบายว่า เหล้า ไวน์ เบียร์เป็นสิ่งชั่วร้าย" ได้(พร้อมแหล่งอ้างอิง และนาย ก ควรเป็นบุคคลที่โดดเด่น)
* '''ไม่ถือว่าเลี่ยงการแสดงระบุข้อความที่ขัดแย้งกันมีการคัดค้านอย่างจริงจังเป็นข้อเท็จจริง''' หากแหล่งข้อมูลที่มาที่น่าเชื่อถือสองแหล่งต่างกันมีการแสดงข้อความที่ขัดแย้งกันเกี่ยวกับประเด็นใดในประเด็นหนึ่ง ให้ถือว่าการแสดงข้อความเหล่านั้นเป็นข้อคิดความคิดเห็นมากกว่า มิใช่ข้อเท็จจริง และอย่านำเสนอข้อความเหล่านั้นเป็นถ้อยแถลงโดยตรง
<blockquote>
* '''เลี่ยงการระบุข้อเท็จจริงเป็นความคิดเห็น''' การแสดงข้อความเท็จจริงซึ่งไม่มีการคัดค้านและไม่ก่อข้อโต้เถียงโดยแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือปกติควรระบุในนามของวิกิพีเดียโดยตรง ยกเว้นหัวเรื่องนั้นว่าด้วยความไม่ลงรอยกันเหนือสารสนเทศที่ไม่มีการคัดค้านอย่างเจาะจง ไม่จำเป็นต้องระบุที่มาอย่างจำเพาะสำหรับการแสดงข้อความนั้น แม้การเพิ่มการเชื่อมโยงอ้างอิงไปยังแหล่งที่มาเพื่อสนับสนุนการพิสูจน์ยืนยันได้จะเป็นประโยชน์ ยิ่งไปกว่านั้น ไม่ควรจัดคำในทุกทางเพื่อให้ข้อความดูเหมือนว่ามีการคัดค้าน
:[[ไฟล์:Crystal 128 error.png|20px|link=]]: [[เหล้า]] [[ไวน์]] [[เบียร์]] เป็นสิ่งชั่วร้าย
* '''เลือกภาษาที่ไม่ตัดสิน''' มุมมองที่เป็นกลางต้องไม่เข้าข้างมุมมองใด ๆ เกี่ยวกับหัวเรื่อง (หรือสิ่งที่แหล่งที่มากล่าวถึงหัวเรื่อง) แม้บางครั้งอาจต้องรักษาให้สมดุลกับความชัดเจน ให้นำเสนอความคิดเห็นและสิ่งค้นพบด้วยน้ำเสียงไม่ใส่ใจ อย่าสอดแทรกความคิดเห็นส่วนบุคคล
:[[ไฟล์:Crystal Clear app clean.png|20px|link=]]: ''นาย x นักจิตแพทย์ชาวอเมริกัน'' อธิบายว่า "เหล้า ไวน์ เบียร์ เป็นสิ่งชั่วร้าย" (พร้อมแหล่งอ้างอิง)
* '''บ่งชี้ความเด่นชัดเปรียบเทียบของมุมมองที่ค้านกัน''' รับประกันว่าการรายงานมุมมองที่ต่างกันของหัวเรื่องหนึ่งต้องสะท้อนระดับเปรียบเทียบของการสนับสนุนมุมมองเหล่านั้นอย่างพอดี และต้องไม่ให้ความประทับใจความเสมอภาคที่ผิด หรือให้น้ำหนักแก่มุมมองจำเพาะหนึ่งมากเกินไป ตัวอย่างเช่น "ตามข้อมูลของไซมอน วีเซนธาล ฮอโลคอสต์เป็นโครงการการกำจัดชาวยิวในประเทศเยอรมนี แต่เดวิด เออร์วิงโต้แย้งการวิเคราะห์นี้" จะให้ดูเหมือนมุมมองข้างมากอย่างยิ่งและมุมมองข้างน้อยอย่างยิ่งเสมอภาคกันโดยการระบุมุมมองนั้นว่ามาจากนักเคลื่อนไหวเพียงคนเดียวในสาขานั้น
</blockquote>
<blockquote>
:[[ไฟล์:Crystal 128 error.png|20px|link=]]: ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ y เป็น[[คนข้ามเพศ]]
:[[ไฟล์:Crystal Clear app clean.png|20px|link=]]: ''จากการสำรวจสำมะโนครัว ค.ศ. 19xx โดยหน่วยงาน z'' พบว่าประชากรของประเทศ y ร้อยละ 67.7 เป็นคนข้ามเพศ (พร้อมแหล่งอ้างอิง)
</blockquote>
* '''ไม่ถือว่าการแสดงข้อความที่ขัดแย้งกันเป็นข้อเท็จจริง''' หากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือสองแหล่งแสดงข้อความที่ขัดแย้งกันเกี่ยวกับประเด็นใดประเด็นหนึ่ง ให้ถือว่าการแสดงข้อความนั้นเป็นข้อคิดเห็นมากกว่าข้อเท็จจริง
* '''ไม่ถือว่าการแสดงข้อความที่ไม่มีข้อโต้แย้งว่าเป็นเพียงข้อคิดเห็น''' การแสดงข้อเท็จจริงที่ไม่มีข้อโต้แย้งซึ่งมาจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ โดยปกติแล้วควรจะนำเสนอในเสียงของวิกิพีเดีย เว้นเสียแต่ว่าหัวเรื่องนั้นเกี่ยวข้องกับความไม่เห็นด้วยกับข้อมูลที่ไม่มีการโต้แย้งอื่น (เช่น [[แนวคิดปฏิเสธเอดส์]]) ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องมีการบ่งชี้ข้อความยืนยันโดยตรงอย่างเจาะจง ถึงแม้ว่าจะช่วยได้มากหากจะเพิ่มลิงก์อ้างอิงไปยังแหล่งที่มาเพื่อสนับสนุนการพิสูจน์ยืนยันได้ของข้อมูล ยิ่งไปกว่านั้น บทความไม่ควรจะเขียนเพื่อให้ดูเหมือนกับว่าแนวคิดนั้นมีข้อโต้แย้งไม่ว่าด้วยวิธีใด
* '''ใช้ภาษาที่ไม่เป็นการตัดสินสิ่งที่เขียน''' จะต้องไม่มีการเห็นใจหรือต่อต้านหัวเรื่องทั้งสองอย่าง (หรือไม่ว่าอะไรก็ตามที่แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือกล่าวถึงหัวเรื่อง) ถึงแม้ว่าการใช้ภาษานี้บางครั้งจะต้องทำให้สมดุลกันกับความชัดเจนของข้อความ ควรเขียนความคิดเห็นหรือคำวินิจฉัยของศาลที่เป็นข้อพิพาทด้วยถ้อยคำที่ฟังแล้วไม่ค่อยน่าสนใจ
<blockquote>
:[[ไฟล์:Crystal 128 error.png|20px|link=]]: นาย x ได้กระทำการ ... และถูกกล่าวหาว่า ... จึงเป็นที่สังเกตว่านาย x ทุจริต
:[[ไฟล์:Crystal 128 error.png|20px|link=]]: นาย y ได้กระทำการ ... โดยการสนับสนุนของ ... ถือว่านาย y ได้ปฏิบัติโดยชอบ
</blockquote>
* '''บ่งชี้ความสัมพันธ์ของมุมมองที่คัดแย้งกันอย่างถูกต้อง''' ต้องมั่นใจว่าการรายงานมุมมองที่แตกต่างกันเกี่ยวกับหัวเรื่องได้สะท้อนระดับการสนับสนุนมุมมองต่าง ๆ ในระดับที่เหมาะสม และจะต้องไม่ทำให้เกิดความเข้าใจผิด หรือให้น้ำหนักอย่างไม่เหมาะสมแก่มุมมองใดมุมมองหนึ่งเพียงอย่างเดียว
<blockquote>
:[[ไฟล์:Crystal Clear app clean.png|20px|link=]]: สำนักข่าวไทยรายงานว่า ... ขณะที่สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า ...
</blockquote>
 
== ทำไมต้องเขียนด้วยมุมมองที่เป็นกลาง ==