ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฝ่ายอักษะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ไทย: ที่จริงก็แค่ลอกมาเหอะ
บรรทัด 105:
=== ไทย ===
 
{{บทความหลัก|การบุกครองไทยของญี่ปุ่น พ.ศ. 2484|สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย}}
 
[[ไฟล์:Japanese Invasion - 8 December 1941.png|thumb|right|200px|เส้นทางการโจมตีประเทศไทยของญี่ปุ่นในสงครามมหาเอเชียบูรพา]]
ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง รัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล]] [[จอมพล ป.พิบูลสงคราม]]เป็น[[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]] ประเทศไทยอยู่ภายใต้การปกครองของ[[รัฐบาลทหาร]] เป็นช่วงที่มีการปลูกฝังลัทธิ[[ชาตินิยม]]อย่างเข้มข้น
 
ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง รัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล]] [[จอมพล ป.พิบูลสงคราม]]เป็น[[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]] ประเทศไทยอยู่ภายใต้การปกครองของ[[รัฐบาลทหาร]] เป็นช่วงที่มีการปลูกฝังลัทธิ[[ชาตินิยม]]อย่างเข้มข้น
[[ไฟล์:Phot and Tojo.jpg|thumb|right|200px|Thai Prime Minister [[พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)|พจน์ พหลโยธิน]] (far left) with Japanese Prime Minister Hideki Tōjō (center) in Tokyo, Japan, 1942]]
[[ไฟล์:Sam Prathet.jpg|thumb|left|200px|Thailand Poster after joined Axis Power ''Sam Prathet'' included Nazi Germany, Thailand and Empire of Japan.]]
 
วันที่ [[8 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 1940]] ([[พ.ศ. 2483]]) คณะนิสิตและนักศึกษาได้เดินขบวนและเรียกร้องให้รัฐบาลเรียกร้องดินแดนฝั่งขวาของ[[แม่น้ำโขง]]คืนจากฝรั่งเศส ซึ่งเสียไปหลัง[[วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112]]<ref name="เหตุการณ์สำคัญในศตวรรษที่ 20_1">ธนู แก้วโอภาส, '''เหตุการณ์สำคัญในศตวรรษที่ 20''', ฝ่ายโรงพิมพ์ บริษัท ตภาตา พับลิเคชั่น จำกัด, 2549, หน้า 445</ref> จากการสนับสนุนอย่างท่วมท้นของประชาชนไทย รัฐบาลจึงได้ส่งกองทัพข้าม[[แม่น้ำโขง]]ไปโจมตีประเทศ[[ลาว]]และ[[กัมพูชา]] ซึ่งขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของ[[อินโดจีนฝรั่งเศส]]<ref name="เหตุการณ์สำคัญในศตวรรษที่ 20_2">ธนู แก้วโอภาส, '''เหตุการณ์สำคัญในศตวรรษที่ 20''', ฝ่ายโรงพิมพ์ บริษัท ตภาตา พับลิเคชั่น จำกัด, 2549, หน้า 447-449</ref> การรบที่เป็นที่กล่าวขานมาก คือ [[ยุทธนาวีเกาะช้าง]]<ref name="เหตุการณ์สำคัญในศตวรรษที่ 20_3">ธนู แก้วโอภาส, '''เหตุการณ์สำคัญในศตวรรษที่ 20''', ฝ่ายโรงพิมพ์ บริษัท ตภาตา พับลิเคชั่น จำกัด, 2549, หน้า 449</ref> ซึ่งก็ทำให้เรือรบฝรั่งเศสไม่กล้าเข้ามาใน[[อ่าวไทย]]อีก การสู้รบยังคงดำเนินต่อไป จนกระทั่งญี่ปุ่นเป็นผู้เข้ามาเป็นผู้ไกล่เกลี่ยในการเจรจาสงบศึก<ref name="เหตุการณ์สำคัญในศตวรรษที่ 20_3"/> และภายหลังสงครามไทย-ฝรั่งเศสสิ้นสุดเมื่อ [[พ.ศ. 2484]] ไทยก็ได้ดินแดนเพิ่มเข้ามาอีก 4 จังหวัด คือ [[จังหวัดนครจัมปาศักดิ์]] [[จังหวัดลานช้าง]] [[จังหวัดพิบูลสงคราม]]และ[[จังหวัดพระตะบอง]] เหตุการณ์ครั้งนี้ภายหลังได้ชื่อว่า "[[กรณีพิพาทอินโดจีน]]"