ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 7:
| previous_election = การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548
| previous_year = พ.ศ. 2548
| next_election = การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ตุลาคม พ.ศ. 2549
| next_year = พ.ศ. 2549 (ถูกยกเลิก)
| seats_for_election = ทั้งหมด 500 ที่นั่งใน[[รัฐสภาไทย]]
บรรทัด 15:
| leader1 = [[ทักษิณ ชินวัตร]]
| party1 = พรรคไทยรักไทย
| party_colour = no
| leaders_seat1 =
| last_election1 = 375 ที่นั่ง, 60.7%
บรรทัด 73:
 
* '''การใช้สิทธิเลือกตั้งระบบบัญชีรายชื่อ''' (ปาร์ตี้ลิสต์)<br />จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 44,909,562 คน<br />จำนวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 29,088,209 คน (64.77%) แยกเป็น
** บัตรเสีย 1,680,101 ใบ (คิดเป็น 5.78%)
** ไม่ประสงค์ลงคะแนน (โนโหวต) 9,051,706 คน (คิดเป็น 31.12%)
** แยกรายพรรค 18,356,402 คะแนน
*** [[พรรคไทยรักไทย]] 16,420,755 คะแนน (คิดเป็น 56.45%)
*** [[พรรคเกษตรกรไทย]] 675,662 คะแนน
*** [[พรรคพลังประชาชน]] 305,015 คะแนน
บรรทัด 86:
 
* '''การใช้สิทธิเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง'''<br />จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 44,778,628 คน<br />จำนวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 28,998,364 คน (64.76%) แยกเป็น
** บัตรเสีย 3,778,981 ใบ (คิดเป็น 13.03%)
** ไม่ประสงค์ลงคะแนน 9,610,874 คน (คิดเป็น 33.14 %)
** แยกรายพรรค 15,608,509 คะแนน
บรรทัด 115:
# [[ทศพร กาญจนะภมรพัฒน์|นายทศพร กาญจนะภมรพัฒน์]] (ศาลจังหวัดตรัง ตัดสินยกฟ้องเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2549 คำวินิจฉัยระบุว่าเป็นการกระทำเพื่อแสดงออกถึงสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งบุคคลย่อมมีสิทธิต่อต้านโดยสันติวิธีซึ่งการกระทำใด ๆ)
# [[เกรียงศักดิ์ หลิวจันทร์พัฒนา|นพ.เกรียงศักดิ์ หลิวจันทร์พัฒนา]] (อาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่)
# นายนิกร ยอดหนูขุน
# นางปราณี วีรวงศ์ (แม่ค้าตลาด อ.เมือง จ.สงขลา)
# น.ส.จินตนา จินเดหวา (แม่ค้าตลาด อ.เมือง จ.สงขลา)
บรรทัด 138:
ทรงชี้แนะให้พิจารณาว่าการที่ต้องมีการเลือกตั้งภายใน 30 วัน หลังยุบสภานั้นถูกต้องหรือไม่ หรือจะให้การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นโมฆะหรือไม่ รวมทั้งทรงแสดงความเห็นว่าการเลือกตั้งโดยมีผู้สมัครพรรคเดียวนั้นไม่เป็นประชาธิปไตย นอกจากนี้ทรงมีพระราชดำรัสว่ามาตรา 7 ของ[[รัฐธรรมนูญ]] พูดถึงการปกครองแบบมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มิได้ให้พระมหากษัตริย์มีอำนาจทำอะไรได้ทุกอย่าง และทรงแนะแนวทางให้ฝ่ายตุลาการ คือ ศาลฎีกา ศาลปกครองสูงสุด และศาลรัฐธรรมนูญ ร่วมกันหารือเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
 
{{wikisource|พระราชดำรัส พระราชทานแก่ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๙}}
{{wikisource|พระราชดำรัส พระราชทานแก่ผู้พิพากษาประจำศาลสำนักงานศาลยุติธรรม ๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๙}}
 
บรรทัด 151:
จากกรณีที่นาย[[ถาวร เสนเนียม]] รองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เป็นโจทก์ยื่นฟ้อง กกต.ในความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ ความผิดต่อพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง ความผิดต่อพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ได้นำมาซึ่งคำพิพากษาให้ กกต.ต้องโทษจำคุก และออกจากตำแหน่งไปเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม <ref>[http://www.matichon.co.th/matichon/matichon_detail.php?s_tag=01p0106260749&day=2006/07/26 ข่าวคำพิพากษาจาก นสพ.มติชน]</ref> จนมีการสรรหา กกต.ใหม่ และกำหนดการเลือกตั้งใหม่ ตามพระราชกฤษฎีกาฯ ในวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2549
== การรัฐประหาร พ.ศ. 2549 ==
แต่ก่อนจะถึงการเลือกตั้งใหม่ ก็เกิด[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|การก่อรัฐประหาร]] ในวันที่ [[19 กันยายน]] [[พ.ศ. 2549]] ยึดอำนาจการปกครองประเทศจากรัฐบาลภายใต้การรักษาการนายกรัฐมนตรี ของ [[ทักษิณ ชินวัตร|พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร]] และภายหลังการรัฐประหารนั้น [[คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] ได้มีคำสั่งแถลงการณ์ฉบับที่ 3 <ref> ตามที่[[คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] ได้ทำการยึดอำนาจการปกครองประเทศเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และมีผลให้ [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540]] , วุฒิสภา , สภาผู้แทนราษฎร , คณะรัฐมนตรี , ศาลรัฐธรรมนูญ มีอันสิ้นสุดลง </ref> จึงทำให้การเลือกตั้งในวันที่ [[15 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2549]] ถูกยกเลิก
 
== ดูเพิ่ม ==