ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ใจ อึ๊งภากรณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nickalone (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ Nickalone (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Pongsak ksm
บรรทัด 18:
นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2552 เขาถูกแจ้งข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพอย่างเป็นทางการในกรุงเทพมหานคร ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 นายใจ ซึ่งเป็นบุคคลสองสัญชาติ (ไทย-อังกฤษ) ได้เดินทางออกจากประเทศไทย เพื่อหลบหนีการดำเนินคดีในประเทศไทย<ref>[http://www.guardian.co.uk/world/2009/feb/09/professor-thailand-charged-king British professor flees Thailand after charge of insulting king] Duncan Campbell, The Guardian, 9 February 2009</ref> โดยอ้างว่าจะไม่ได้รับความยุติธรรมในการดำเนินคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ<ref>[http://www.prachatai.com/05web/th/home/15511 ‘ใจ อึ๊งภากรณ์’ ให้สัมภาษณ์สื่ออังกฤษ เชื่อไม่ได้รับความเป็นธรรมคดีหมิ่นฯ] ประชาไท </ref>
 
นายใจประกาศตนเองว่าเป็นพวกนิยมสาธารณรัฐ และฝ่ายตรงข้ามทางคำพูดต่อราชวงศ์ไทย<ref>{{cite web |url=http://www.asiasentinel.com/index.php?option=com_content&task=view&id=2062&Itemid=595 |title=Opinion: Democracy Suffers in Thailand |last1=Ungpakorn |first1=Giles Ji |date=2009-09-18 |publisher=[[Asia Sentinel]] |accessdate=2010-02-06}}</ref> ในขณะหลบหนีคดีจากประเทศไทยนั้น เขาได้เขียนแถลงการณ์ "แดงสยาม" ซึ่งมีเนื้อหาวิพากษ์วิจารณ์ พระมหากษัตริย์ไทย [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] อย่างโจ่งแจ้ง<ref>{{cite web |url=http://asiapacific.anu.edu.au/newmandala/2009/02/20/special-interview-giles-ungpakorn-part-1/ |title=Special interview: Giles Ungpakorn, part 1 |last1= Walker |first1=Andrew |last2=Farrelly |first2=Nicholas |date=2009-02-20 |publisher=New Mandala |accessdate=2010-02-06}}</ref> เขาวิพากษ์วิจารณ์ว่าพระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ที่ "อ่อนแอ" และ "ไร้ศีลธรรม" ผู้ซึ่งไม่เคยสนับสนุน[[ประชาธิปไตย]] และอ้างว่าพระองค์มีส่วนรับผิดชอบต่อ[[เหตุการณ์ 6 ตุลา|การสังหารหมู่นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519<ref>{{cite web |url=http://www.asiasentinel.com/index.php?option=com_content&task=view&id=2036&Itemid=595 |title=Soapbox: Da Torpedo's case pushes Thailand back to the Dark Ages |last1=Ungpakorn |first1=Giles Ji |date=2009-09-03 |publisher=[[Asia Sentinel]] |accessdate=2010-02-06}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.asiasentinel.com/index.php?Itemid=159&id=1714&option=com_content&task=view |title=Red Siam Manifesto |last1=Ungpakorn |first1=Giles Ji |date=2009-02-10 |publisher=[[Asia Sentinel]] |accessdate=2010-02-06}}</ref><ref>http://www.youtube.com/watch?v=mI_YEVHE8_U</ref> เขายังได้ติเตียนทฤษฎี[[เศรษฐกิจพอเพียง]] โดยตีตราว่ามันเป็นคำสั่งให้คนจน "รู้จักฐานะของตัวเอง" และกล่าวว่าพระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ซึ่งร่ำรวยที่สุดในโลก<ref>{{cite web |url=http://www.asiasentinel.com/index.php?Itemid=159&id=1714&option=com_content&task=view |title=Red Siam Manifesto |last1=Ungpakorn |first1=Giles Ji |date=2009-02-10 |publisher=[[Asia Sentinel]] |accessdate=2010-02-06}}</ref> เขายังประกาศตนเองว่าเป็นนัก[[ลัทธิมาร์กซิสต์]]<ref>{{cite web |url=http://www.prachatai.com/english/node/344 |title=Interview with Giles Ungpakorn: politics, coups, elections and the left |author=Wittayakorn Boonreung |date=2007-10-30 |publisher=Prachatai |accessdate=2010-02-06}}</ref> เขายังเป็นสมาชิกของ[[กลุ่มประชาธิปไตยแรงงาน]] ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[องค์กรสังคมนิยมสากล]] อันนับถือแนวคิดความคิด[[ลัทธิทร็อตสกี]]
 
ในความเห็นซึ่งเขาได้เขียนให้กับเว็บไซต์ของ [[Asia Sentinel]] เขาได้ลดราคาของมุมมองในด้านการปฏิรูปสังคมและการเมืองอย่างได้ผล และวางตนเองอยู่ฝ่ายเดียวกับผู้ที่ต้องการให้เกิดการปฏิวัติในประเทศไทย<ref>{{cite web |url=http://www.asiasentinel.com/index.php?option=com_content&task=view&id=2036&Itemid=595 |title=Soapbox: Da Torpedo's case pushes Thailand back to the Dark Ages |last1=Ungpakorn |first1=Giles Ji |date=2009-09-03 |publisher=[[Asia Sentinel]] |accessdate=2010-02-06}}</ref>
เส้น 25 ⟶ 26:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.asiasentinel.com/media/PDF/RedSiamT.pdf แถลงการณ์แดงสยาม] โดย ใจ อึ๊งภากรณ์
* ''Index on Censorship''. [http://www.indexoncensorship.org/2009/02/interview-giles-ji-ungpakorn/ Interview: Giles Ji Ungpakorn]
* [http://kyotoreview.cseas.kyoto-u.ac.jp/issue/issue0/article_71.html Review of Ungpakorn's book ''Crimes Committed by the State: Transition in Crisis'']