ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ใจ อึ๊งภากรณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 16:
ในปี พ.ศ. 2550 นายใจได้ตีพิมพ์หนังสือภาษาอังกฤษ ชื่อ ''[[A Coup for the Rich]]'' โดยมีเนื้อหาบางส่วนอ้างอิงหนังสืออื้อฉาว ''[[The King Never Smiles]]'' และพาดพิงสถาบันพระมหากษัตริย์ เขายังแย้งว่ารัฐประหารในปี พ.ศ. 2549 ได้รับการสนับสนุนจากพระมหากษัตริย์อีกด้วย ทำให้หนังสือถูกงดจำหน่ายในประเทศไทย ดังที่บรรณาธิการได้ชี้แจง<ref>{{cite news |title=Chula bans second coup book |author=Subhatra Bhumiprabhas |newspaper=[[The Nation (Thailand)|The Nation]]|date=2008-02-28 |url=http://www.nationmultimedia.com/2007/02/13/politics/politics_30026694.php | accessdate =2010-02-06}}</ref> และนายใจถูกสั่งฟ้องคดีอาญา ข้อหา[[หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ]] เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2552 นอกจากนี้
 
เมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2552 เขาถูกแจ้งข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพอย่างเป็นทางการในกรุงเทพมหานคร ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 นายใจ ซึ่งเป็นบุคคลสองสัญชาติ (ไทย-อังกฤษ) ได้เดินทางออกจากประเทศไทย เพื่อหลบหนีการดำเนินคดีในประเทศไทย<ref>[http://www.guardian.co.uk/world/2009/feb/09/professor-thailand-charged-king British professor flees Thailand after charge of insulting king] Duncan Campbell, The Guardian, 9 February 2009</ref> โดยอ้างว่าจะไม่ได้รับความยุติธรรมในการดำเนินคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ<ref>[http://www.prachatai.com/05web/th/home/15511 ‘ใจ อึ๊งภากรณ์’ ให้สัมภาษณ์สื่ออังกฤษ เชื่อไม่ได้รับความเป็นธรรมคดีหมิ่นฯ] ประชาไท </ref> และออก "แถลงการณ์แดงสยาม" เผยแพร่ทาง[[บล็อก]]ส่วนตัว โจมตีระบอบกษัตริย์อย่างเจาะจงตัวบุคคล เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
 
นายใจประกาศตนเองว่าเป็นพวกนิยมสาธารณรัฐ และฝ่ายตรงข้ามทางคำพูดต่อราชวงศ์ไทย<ref>{{cite web |url=http://www.asiasentinel.com/index.php?option=com_content&task=view&id=2062&Itemid=595 |title=Opinion: Democracy Suffers in Thailand |last1=Ungpakorn |first1=Giles Ji |date=2009-09-18 |publisher=[[Asia Sentinel]] |accessdate=2010-02-06}}</ref> ในขณะหลบหนีคดีจากประเทศไทยนั้น เขาได้เขียนแถลงการณ์ "แดงสยาม" ซึ่งมีเนื้อหาวิพากษ์วิจารณ์ พระมหากษัตริย์ไทย [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] อย่างโจ่งแจ้ง<ref>{{cite web |url=http://asiapacific.anu.edu.au/newmandala/2009/02/20/special-interview-giles-ungpakorn-part-1/ |title=Special interview: Giles Ungpakorn, part 1 |last1= Walker |first1=Andrew |last2=Farrelly |first2=Nicholas |date=2009-02-20 |publisher=New Mandala |accessdate=2010-02-06}}</ref> เขาวิพากษ์วจารณ์ว่าพระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ที่ "อ่อนแอ" และ "ไร้ศีลธรรม" ผู้ซึ่งไม่เคยสนับสนุน[[ประชาธิปไตย]] และอ้างว่าพระองค์มีส่วนรับผิดชอบต่อ[[เหตุการณ์ 6 ตุลา|การสังหารหมู่นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] 6 ตุลาคม พ.ศ. 2516<ref>{{cite web |url=http://www.asiasentinel.com/index.php?option=com_content&task=view&id=2036&Itemid=595 |title=Soapbox: Da Torpedo's case pushes Thailand back to the Dark Ages |last1=Ungpakorn |first1=Giles Ji |date=2009-09-03 |publisher=[[Asia Sentinel]] |accessdate=2010-02-06}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.asiasentinel.com/index.php?Itemid=159&id=1714&option=com_content&task=view |title=Red Siam Manifesto |last1=Ungpakorn |first1=Giles Ji |date=2009-02-10 |publisher=[[Asia Sentinel]] |accessdate=2010-02-06}}</ref><ref>http://www.youtube.com/watch?v=mI_YEVHE8_U</ref>
 
== อ้างอิง ==