ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา''' เป็น[[สิ่งก่อสร้าง]]ที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่รำลึกถึงผู้เสียชีวิตใน[[เหตุการณ์ 14 ตุลา|เหตุการณ์ในวันที่ 14 - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2516]] โดยมีประวัติการก่อสร้างตั้งอยู่ที่ยาวนานบริเวณ[[สี่แยกคอกวัว]] กระทั่งสร้างแล้วเสร็จ ในปี .ศ. 2544
{{ช่วยดูหน่อย}}
 
==สถานที่==
'''อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา''' เป็น[[สิ่งก่อสร้าง]]ที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่รำลึกถึงผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์ในวันที่ 14 - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2516 โดยมีประวัติการก่อสร้างที่ยาวนาน กระทั่งสร้างแล้วเสร็จ ในปี ค.ศ. 2544
สถานที่ที่ใช้สร้างอนุสรณ์สถานเช่าจาก[[สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์]] ภายในอนุสรณ์สถานมีพิพิธภัณฑ์ ห้องสมุด สำนักงาน ห้องประชุม ลานกิจกรรม สวนสาธารณะ และประติมากรรมต่าง ๆ หนึ่งใน
 
ประติมากรรมที่เด่นเป็นเอกลักษณ์ คือ สถูปวีรชน 14 ตุลา เป็นรูปกรวยคว่ำ สูง 14 เมตร จารึกรายชื่อผู้เสียชีวิตและบทกวีของ[[เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์]] รูปกรวยคว่าเป็นสัญลักษณ์ของจิตวิญญาณการมนุษย์ ส่วนปลายยอดกรวยที่ดูเหมือนยังสร้างไม่เสร็จแทนการต่อสู่เพื่อประชาธิปไตย สิทธิ และเสรีภาพที่ยังต้องดำเนินต่อไป
การก่อสร้างอนุสรณ์สถาน 14 ตุลา มีประวัติอันยาวนาน เริ่มตั้งแต่มีการเสนอให้มีการสร้างอนุสาวรีย์สำหรับผู้ที่เสียชีวิตในเหตุการณ์ 14-16 ตุลาคม 2516 ผ่านคณะรัฐมนตรีของรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์เมื่อ พ.ศ. 2517 แต่กว่าที่อนุสรณ์สถาน 14 ตุลาจะปรากฏเป็นรูปธรรมดังที่เห็น หนทางก็เต็มไปด้วยอุปสรรคนานับประการ จนกระทั่งถึง พ.ศ. 2544 อนุสรณ์สถานแห่งนี้จึงจะสามารถสร้างได้แล้วเสร็จ ทั้งนี้ก็ด้วยแรงผลักดันอย่างต่อเนื่องจากขบวนการนิสิตนักศึกษา อดีตนักศึกษาในสมัย 14 ตุลา นักวิชาการ สื่อมวลชน องค์กรพัฒนาเอกชน และประชาชนผู้รักประชาธิปไตย
 
==ประวัติการก่อสร้าง==
งบประมาณที่ใช้ในการก่อสร้างอนุสรณ์สถานแห่งนี้มาจากเงินบริจาคของประชาชนในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 และในโอกาสครบรอบ 28 ปี 14 ตุลา รวมกับเงินบริจาคของสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล กรุงเทพมหานคร และทบวงมหาวิทยาลัย โดยมีมูลนิธิ 14 ตุลา เป็นผู้รับผิดชอบ ดำเนินการจัดสร้าง และร่วมดำเนินกิจการของอนุสรณ์สถานฯ ภายใต้วิสัยทัศน์ที่ว่า
การก่อสร้างอนุสรณ์สถาน 14 ตุลา มีประวัติอันยาวนาน เริ่มตั้งแต่มีการเสนอให้มีการสร้าง[[อนุสาวรีย์]]สำหรับผู้ที่เสียชีวิตในเหตุการณ์ 14-16 ตุลาคม 2516 ผ่านคณะรัฐมนตรีของรัฐบาล[[สัญญา ธรรมศักดิ์|นายสัญญา ธรรมศักดิ์]]เมื่อ พ.ศ. 2517 แต่กว่าที่อนุสรณ์สถาน 14 ตุลาจะปรากฏเป็นรูปธรรมดังที่เห็น หนทางก็เต็มไปด้วยอุปสรรคนานับประการ จนกระทั่งถึง พ.ศ. 2544 อนุสรณ์สถานแห่งนี้จึงจะสามารถสร้างได้แล้วเสร็จ ทั้งนี้ก็ด้วยแรงผลักดันอย่างต่อเนื่องจากขบวนการนิสิตนักศึกษา อดีตนักศึกษาในสมัย 14 ตุลา นักวิชาการ สื่อมวลชน องค์กรพัฒนาเอกชน และประชาชนผู้รักประชาธิปไตย
 
งบประมาณที่ใช้ในการก่อสร้างอนุสรณ์สถานแห่งนี้มาจากเงินบริจาคของประชาชนในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 และในโอกาสครบรอบ 28 ปี 14 ตุลา รวมกับเงินบริจาคของ[[สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล]] [[กรุงเทพมหานคร]] และ[[ทบวงมหาวิทยาลัย]] โดยมี[[มูลนิธิ 14 ตุลา]] เป็นผู้รับผิดชอบ ดำเนินการจัดสร้าง และร่วมดำเนินกิจการของอนุสรณ์สถานฯ ภายใต้วิสัยทัศน์ที่ว่า
อนุสรณ์สถาน14 ตุลา จะต้องเป็นสถานที่จัดกิจกรรมสาธารณะที่มีความหลากหลายทั้งรูปแบบและเนื้อหา ตลอดจนเป็นศูนย์การเรียนรู้เพื่อกระตุ้นความสนใจและให้การศึกษาทางการเมืองแก่เยาวชนคนหนุ่มสาว อันจะนำไปสู่การสร้างหรือเพิ่มพูนองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องประชาธิปไตยในประเทศไทย
 
:''อนุสรณ์สถาน14 ตุลา จะต้องเป็นสถานที่จัดกิจกรรมสาธารณะที่มีความหลากหลายทั้งรูปแบบและเนื้อหา ตลอดจนเป็นศูนย์การเรียนรู้เพื่อกระตุ้นความสนใจและให้การศึกษาทางการเมืองแก่เยาวชนคนหนุ่มสาว อันจะนำไปสู่การสร้างหรือเพิ่มพูนองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องประชาธิปไตยในประเทศไทย''
 
==ดูเพิ่ม==
*[[เหตุการณ์ 6 ตุลา]]
 
==ลิงก์ภายนอก==
*[http://www.sarakadee.com/feature/2001/11/6octo.htm จาก ๒๘ ปี ๑๔ ตุลา ถึง ๒๕ ปี ๖ ตุลา ประวัติศาสตร์ที่ยังรอคอยการชำระ]
 
[[หมวดหมู่:อนุสาวรีย์]]