ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความกดอากาศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 10397902 โดย Ekminarin (พูดคุย) ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''ความกดอากาศ''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Atmospheric pressure) ความกดอากาศมีลักษณะ'''คล้ายกับหรือที่รู้จักกันในชื่อความดันบรรยากาศหรือและความดันอากาศ''' เป็นความดันภายใต้[[ชั้นบรรยากาศของโลก]] โดยทั่วไปแล้วความกดอากาศจะมีค่าใกล้เคียงกับความกดอากาศที่เกิดจากน้ำหนักของอากาศอยู่บนจุดใด ๆ ซึ่งหมายความว่า จุดที่มีความกดอากาศต่ำจะมีอากาศที่มีมวลต่ำจะอยู่ข้างบนพื้นที่ ด้วยเหตุผลแบบเดียวกัน ความกดอากาศจะต่ำลงเมื่อระดับความสูงเพิ่มขึ้น [[บรรยากาศ (หน่วยวัด)|บรรยากาศมาตรฐาน]] (สัญลักษณ์: atm) คือหน่วยของแรงดันที่กำหนดไว้ที่ 101,325 Pa (1,013.25 hPa หรือ 1,013.25 mbar) ซึ่งเทียบเท่ากับ 760 [[mmHg]], 29.9212 นิ้วปรอท หรือ 14.696 psi<ref>[[องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ]]. ''Manual of the ICAO Standard Atmosphere'', Doc 7488-CD, Third Edition, 1993. <nowiki>ISBN 92-9194-004-6</nowiki>.</ref> หน่วย atm นั้นเทียบเท่ากับความดันบรรยากาศระดับน้ำทะเลเฉลี่ยบนโลก ดังนั้นความดันบรรยากาศของโลกที่ระดับน้ำทะเลอยู่ที่ประมาณ 1 atm
 
== ความกดอากาศมาตรฐาน ==
มีสถานะเป็นก๊าซ แต่อากาศก็มีน้ำหนักเช่นเดียวกับของแข็งและของเหลว เราเรียกน้ำหนักซึ่งกดทับกันลงมานี้ว่า “ความกดอากาศ” (Air pressure) ความกดอากาศจะมีความแตกต่างกับแรงที่เกิดจาก “Lเเป๋ว”L” สีแดง เป็นสัญลักษณ์
นักอุตุนิยมวิทยาใช้เครื่องมือ ชื่อว่า "บารอมิเตอร์" อย่างละเอียดสำหรับวัดความกดอากาศ หน่วยที่ใช้วัดความกดของอากาศนั้นอาจจะเป็นความสูงของปรอทเป็นนิ้วหรือเซนติเมตร ปอนด์ต่อตารางนิ้ว หรือกิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตรก็ได้ แต่ในปัจจุบันส่วนมากนิยมใช้หน่วยเป็นมิลลิบาร์ (millibar) เพราะเป็นหน่วยที่สะดวกกว่า ซึ่งเราจะเปรียบเทียบกันได้ตามหลักการคำนวณต่อไปนี้