ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขุนช้างขุนแผน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขเจตนาดีของ 2405:9800:BA20:58BC:A076:631A:3D53:47BF (พูดคุย) ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 20:
สำหรับเนื้อหาของขุนช้างขุนแผนในปัจจุบัน [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]ได้โปรดเกล้าฯ ให้กวีในรัชสมัยของพระองค์ ตลอดจนพระองค์เองร่วมกันแต่งและทรงพระราชนิพนธ์ขี้นเป็น[[วรรณคดี]]ที่มีค่าทั้งในด้านความไพเราะและในลีลาการแต่ง ตลอดจนเค้าโครงเรื่อง ได้รับการยกย่องตาม'''พระราชบัญญัติวรรณคดีสโมสร'''ในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ว่าเป็นยอดของหนังสือประเภท[[กลอน]][[เสภา]] และได้รับประทับราชลัญจกรรูป[[พระคเณศร์]]ไว้เป็นเครื่องหมายของการยกย่องนั้นด้วย
 
หนังสือเรื่องขุนช้างขุนแผนนี้ ไม่เพียงแต่เป็นวรรณคดีสำหรับอ่านกันเล่น เพื่อได้รับรสวรรณคดีเป็นเครื่องบันเทิงใจเท่านั้น หากแต่บางตอนในวรรณคดีเรื่องนี้ยังเป็นหลักฐานที่ให้ความรู้ในเรื่องราวความเป็นอยู่ของผู้คนและบ้านเมืองในสมัยต้น[[รัตนโกสินทร์]] สมกับที่มีคำกล่าวว่า วรรณคดีเป็น[[กระจกเงา]]สะท้อนภาพความเป็นไปของบ้านเมืองในยุคนั้น ๆ ให้คนรุ่นหลัง ๆ ได้ทราบด้วย<ref> จากคำนำของ[[กรมศิลปากร]]ที่สำนักพิมพ์บรรณาคารจัดพิมพ์ขึ้นจำหน่ายในการพิมพ์ครั้งที่ 13 พ.ศ. 2513</ref>
 
วรรณกรรมไทยเรื่องขุนช้างขุนแผน ได้รับการแปลเป็น[[ภาษาอังกฤษ]]ครั้งแรกในปี 2553 โดย[[ผาสุก พงษ์ไพจิตร|ศ.ดร.ผาสุก พงษ์ไพจิตร]] นักเศรษฐศาสตร์ชาวไทย และนายคริส เบเกอร์ <ref>[http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1293180201&grpid=03&catid=08 "ขุนช้างขุนแผน" ได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษแล้ว]{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>
บรรทัด 107:
ในช่วงศตวรรษที่ 20 มีการนำตอนต่าง ๆ มาดัดแปลงเป็นรูปแบบกวีนิพนธ์และการแสดงพื้นบ้านอย่างเพลง ฉุยฉาย เป็นต้น
 
มีการดัดแปลงเป็นภาพยนตร์อยู่ 5 เวอร์ชั่นเวอร์ชัน
ในปี พ.ศ. 2479 เป็นภาพยนตร์เงียบ ฉายในสองตอนโดย ผู้กำกับ บำรุง แนวพาณิชย์
 
บรรทัด 116:
ในปี พ.ศ. 2498 ทำเป็นละครโทรทัศน์แบบตอนเดียว
 
ในปี พ.ศ. 2513 เป็นละครที่เล่าถึงการล่วงละเมิดของขุนแผนในฐานะเจ้าเมืองกาญจนบุรีที่ขยายตอนออกไปกว่า 500 ตอน
 
ในปี พ.ศ. 2528 ช่อง 3 ออกอากาศเป็นฉบับต่อเนื่องในชื่อละครว่า "พิมพิลาไลย"
บรรทัด 124:
ส่วนฉบับการ์ตูนนั้น วาดภาพโดย คุณสวัสดิ์ จักรภพ ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2475-พ.ศ. 2493
 
ในปี พ.ศ. 2548 ฉบับการ์ตูนที่เป็นเรื่องยาวที่สุดวาดภาพโดย สุกฤตย์ บุญทอง
 
ศิลปินที่มีชื่อเสียงอย่าง [[เหม เวชกร]]ก็ได้วาดภาพฉากจากเรื่องขุนช้างขุนแผนด้วย
 
ในปี พ.ศ. 2460 บริษัท BAT ได้ออกการ์ดบุหรี่จำนวน 100 ใบที่มีตัวละครจากเรื่องดังกล่าว
 
ในปี พ.ศ. 2475 ยังมีการดัดแปลงเขียนเป็นนิยายหลายเรื่อง เช่นผลงานของ มาลัย ชูพินิจ
 
ในปี พ.ศ. 2515 นิยายที่เขียนดัดแปลงเป็นร้อยแก้วด้วยภาษาสมัยใหม่ที่โด่งดังที่สุดเขียนโดย [[ป. อินทรปาลิต]] นักเขียนแนวระทึกขวัญ ขวัญใจมหาชน ปัจจุบันจัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์แสงดาว
 
ในปี พ.ศ. 2507 มีการเล่าเรื่องซ้ำอย่างน้อยเจ็ดเรื่องในสำนวนร้อยแก้วแบบสมัยใหม่ ครั้งแรกและสมบูรณ์ที่สุดคือเขียนโดย [[เปรมเสรี]]
 
ในปี พ.ศ. 2564 ช่อง One31 ได้ออกอากาศเรื่องขุนช้างขุนแผน ที่ดัดแปลงแบบสมสมัยในชื่อเรื่อง "วันทอง" นำแสดงโดย [[ดาวิกา โฮร์เน่]] [[ณวัฒน์ กุลรัตนรักษ์]] และ [[ชาคริต แย้มนาม]] สามารถรับชมได้ทาง YouTube ของทางช่อง One31
 
== ในวัฒนธรรมร่วมสมัย ==
บรรทัด 145:
ใน[[จังหวัดสุพรรณบุรี]]และ[[พิจิตร]]เมืองที่มีความโดดเด่นในเนื้อเรื่อง ยังมีชื่อถนนสายหลักที่ได้รับการตั้งชื่อตามตัวละครในเรื่องด้วย
 
ในสถานที่ต่าง ๆ ที่ปรากฏในเรื่อง ปัจจุบันนี้ยังมีศาลเจ้าที่มีภาพของตัวละครปรากฎปรากฏอยู่ สถานที่ดังกล่าว ได้แก่ เนินเขาชนไก่ในจังหวัดกาญจนบุรีเก่า มีภาพขุนแผนและขุนไกรผู้เป็นบิดา
เมืองพิจิตรเก่าของนางศรีมาลาและบ้านถ้ำในจังหวัดกาญจนบุรีของนางบัวคลี่ เป็นต้น
 
บรรทัด 154:
== งานวิจัย==
 
งานวิจัยที่บอกเล่าเรื่องราวด้วยการเพิ่มคำอธิบายประกอบและคำอธิบายของคำเก่าๆและประเพณีที่ถูกลืม เช่น งานของ สุภร บุนนาค ที่จัดพิมพ์สองเล่มในปีพ.ศ. 2503 และตีพิมพ์ซ้ำอีกในงานฌาปนกิจศพในปีพ.ศ. 2518
 
งานวิจัยของ[[ขุนวิจิตรมาตรา]] (สง่า กาญจนาคพันธุ์) และ เปลื้อง ณ นคร (นามปากกาว่า นายตำรา ณ เมืองใต้)
เขียนบทความชุดหนึ่งเผยแพร่ในนิตยสารวิทยาสาร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2497 และรวมพิมพ์เป็นเล่มเป็นหนังสือแล้ว ในชื่อ "เล่าเรื่องขุนช้างขุนแผน"
 
ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ยังเขียนบทความชุดหนึ่งลงพิมพ์ที่ หนังสือพิมพ์สยามรัฐของตนเองแล้วรวบรวมเป็นหนังสือในปี พ.ศ. 2532
 
ในปี พ.ศ. 2545 สุจิตต์ วงษ์เทศได้ตีพิมพ์ผลงานที่เป็นคำกลอนของครูแจ้ง ซึ่งเคยลงพิมพ์เป็นบทความในนิตยสารศิลปวัฒนธรรม หนังสือเล่มนี้ประกอบด้วยสำเนาต้นฉบับสองฉบับของบทที่ 17 ซึ่งสุจิตต์ได้รับจาก[[หอสมุดแห่งชาติ]]ภายใต้ รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2540 ต้นฉบับเหล่านี้เผยให้เห็นสิ่งที่กรมพระยาดำรงทรงชำระและตัดทอนไป รวมพิมพ์เป็นชื่อว่า '''ขุนช้างขุนแผนแสนสนุก: เผยฉบับลับเฉพาะ ตีดาบ ซื้อม้า หากุมารทอง สำนวนครูแจ้ง''' พิมพ์ครั้งแรกและครั้งเดียว ในปี พ.ศ. 2545
บรรทัด 175:
* Chris Baker, and Pasuk Phongpaichit,(eds). 2010. ใน '''The Tale of Khun Chang Khun Phaen: Siam's Great Folk Epic of Love and War'''. 2 vols, Chiang Mai: [[Silkworm Books]].
 
* ชลธิรา สัตยาวัฒนา. พ.ศ. 2513 ใน '''การประยุกต์ใช้ และการวิจารณ์วรรณกรรมตะวันตกสมัยใหม่กับวรรณคดีไทย'''). วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]].
 
* ขุนวิจิตรมาตรา [นามปากกา กาญจนาคพันธ์] และ เปลื้อง ณ นคร [นามปากกา นายตำรา ณ เมืองใต้] ใน '''เล่าเรื่องขุนช้างขุนแผน'''.พ.ศ. 2545
 
* สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ บรรณาธิการ [[คำให้การชาวกรุงเก่า]].พิมพ์ครั้งแรก.โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒนากร.พ.ศ. 2457
 
* ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช.ใน '''ขุนช้างขุนแผนฉบับอ่านใหม่'''.พ.ศ. 2532
 
* เปรมเสรี ใน'''ขุนช้างขุนแผนสำนวนร้อยแก้ว'''.พ.ศ. 2507.
 
* สุจิตต์ วงษ์เทศ. 2545.ใน'''ขุนช้างขุนแผนแสนสนุก: เผยฉบับลับเฉพาะ ตีดาบ ซื้อม้า หากุมารทอง สำนวนครูแจ้ง'''.กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม.
บรรทัด 189:
* สุภร บุนนาค. ใน '''สมบัติกวี:ขุนช้างขุนแผน'''.กรุงเทพฯ.พ.ศ. 2518
 
* ป.อินทรปาลิต, สำนักพิมพ์แสงดาว ใน '''ขุนช้างขุนแผน ฉบับ ป.อินทรปาลิต''' พิมพ์ครั้งที่:2, ปี พ.ศ. 2562
 
{{วรรณคดีที่ได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสร}}