ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ข้าวโพด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
แก้ไขลิงก์เสียและปรับปรุงอ้างอิง
บรรทัด 1:
{{ตารางจำแนกพันธุ์
{{Taxobox
| color = lightgreen
| name = ข้าวโพด
บรรทัด 20:
[[ไฟล์:Zea mays 'Ottofile giallo Tortonese' MHNT.BOT.2015.34.1.jpg|thumb|250px|''Zea mays "Ottofile giallo Tortonese”'']]
 
'''ข้าวโพด''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Zea mays}} [[คาร์ล ลินเนียส|Linn.]]) ชื่ออื่น ๆ ข้าวสาลี สาลี (เหนือ) คง ([[จังหวัดกระบี่|กระบี่]]) โพด (ใต้) บือเคเส่ะ ([[กะเหรี่ยง]]-[[แม่ฮ่องสอน]]) ยาฆง ([[ยะลา]] [[ปัตตานี]] [[นราธิวาส]]) เป็นพืชตระกูลเดียวกับหญ้ามีลำต้นสูง โดยเฉลี่ย 2.2 เมตร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของลำต้น 0.5-5–2.0 นิ้ว เมล็ดจากฝักใช้เป็นอาหารคนและสัตว์
 
== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
ข้าวโพดเป็นพืชจำพวก[[บาสซ่า]] รากชั่วคราว เรียกว่า ไพรี หลังจากข้าวโพดเจริญเติบโตได้ประมาณ 7 – 7–10 วัน รากถาวรจะงอกขึ้นรอบ ๆ ข้อปลาในระดับใต้พื้นดินประมาณ 1-1–2 นิ้ว รากถาวรนี้ เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่จะแผ่ออกไปโดยรอบประมาณ 100 เซนติเมตร รากของข้าวโพดเป็นระบบรากฝอย (fibrous root system) นอกจากรากที่อยู่ใต้ดินแล้ว ยังมีรากยึดเหนี่ยว (brace root) ซึ่งเกิดขึ้นรอบ ๆ ข้อที่อยู่ใกล้ผิวดิน มีลำต้นตั้งตรงแข็งแรง เนื้อภายในฟ่ามคล้ายฟองน้ำสูงประมาณ 1.4 เมตร ลำต้นมีข้อ (node) และปล้อง (internode) ปล้องที่อยู่ในดินและใกล้ผิวดินสั้น และจะค่อย ๆ ยาวขึ้นไปทางด้านปลาย ปล้องเหนือพื้นดินจะมีจำนวนประมาณ 8-8–20 ปล้อง ลำต้นสดมีสีเขียว ใบ ยาวรี เป็นเส้นตรงปลายแหลม ยาวประมาณ 30-30–100 ซม. เส้นกลางของใบจะเห็นได้ชัด ตรงขอบใบมีขนอ่อน ๆ มีเขี้ยวใบ ลักษณะของใบรวมทั้งสีของใบแตกต่างกันไป แล้วแต่ชนิดของพันธุ์ บางพันธุ์ใบสีเขียว บางพันธุ์ใบสีม่วงและบางพันธุ์ใบลาย จำนวนใบก็เช่นเดียวกันอาจมีตั้งแต่ 8-8–48 ใบ ดอกตัวผู้และดอกตัวเมียอยู่ในต้นเดียวกัน ช่อดอกตัวผู้อยู่ส่วนยอดของลำต้น ช่อดอกตัวเมียอยู่ต่ำลงมาอยู่ระหว่างกาบของใบ และลำต้น ช่อดอกตัวผู้ (tassel) อยู่ตอนบนสุดของลำต้น ดอกตัวผู้ดอกหนึ่งจะมีอับเกสร (anther) 3 อับ ส่วนดอกตัวเมียอยู่รวมกันเป็นช่อ เกิดขึ้นตอนข้อกลาง ๆ ลำต้น ฝักเกิดจากดอกตัวเมียที่เจริญเติบโตแล้ว ฝักอ่อนจะมีสีเขียว พอแก่เป็นสีนวล
 
== ถิ่นกำเนิด ==
เป็นที่ยอมรับกันว่า ข้าวโพดมีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกา อาจจะเป็นอเมริกากลางเช่นใน[[ประเทศเม็กซิโก]] หรืออาจจะเป็นอเมริกาใต้ ในปี พ.ศ. 2035 เมื่อ[[คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส]]ค้นพบทวีปอเมริกา ยังไม่พบการปลูกข้าวโพดในทวีปอื่น ๆ ต่อมาปี พ.ศ. 2036 โคลัมบัสจึงนำข้าวโพดกลับไปยังยุโรปแล้วข้าวโพดจึงได้เกิดการขยายพันธุ์ต่อไป<ref>{{citeCite book |last1=อุดมแก้ว |first1=อารีย์ลักษณ์ |editor1-last=หงสาภินันทน์ |editor1-first=ทวีศักดฺ์ |year=2012 |title=การปลูกข้าวโพดในประเทศไทย |location=ประเทศไทย |publisher=Something to read Co. |isbn=978-616-241-212-7 |pages=3 }}</ref>
ปัจจุบันนิยมปลูกแพร่หลายในแถบอเมริกา แคนาดา สามารถปลูกได้ในสภาพที่ภูมิอากาศแตกต่างกันมาก ๆ เป็นแหล่งอาหารที่สำคัญของสัตว์ เพราะสามารถนำมาเลี้ยงสัตว์ได้ทั้งต้น ใบ และเมล็ด
 
บรรทัด 41:
# '''ข้าวโพดเทียน (Waxy Corn) ''' เป็นข้าวโพดที่คนใช้รับประทาน จะมีแป้งที่มีลักษณะเฉพาะคือ นุ่มเหนียว เพราะในเนื้อแป้งจะประกอบด้วยแป้งพวก[[อะไมโลเพกทิน]] (Amylopectin) ส่วนข้าวโพดอื่น ๆ มีแป้ง[[แอมิโลส]] (Amylose) ประกอบอยู่ด้วย จึงทำให้แป้งค่อนข้างแข็ง
 
ข้าวโพดที่ใช้เลี้ยงสัตว์ในประเทศไทยมีหลายพันธุ์ ที่นิยมปลูกในประเทศไทยได้แก่ พันธุ์กัวเตมาลา พียี 12 (Rep.1) กัวเตมาลา พีบี 12 (Rep.2) พีบี 5 ข้าวโพดเหนียว และโอเปค-2 มีเมล็ดตั้งแต่สีขาว สีเหลืองไปจนถึงสีแดง ขนาดของเมล็ดขึ้นอยู่กับพันธุ์ โดยทั่วไปจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางอยู่ในช่วง 0.5-5–0.8 ซม. ก่อนนำมาเลี้ยงสัตว์จึงต้องบดก่อนเพื่อช่วยให้การย่อยและการผสมได้ผลดีขึ้น ที่บดแล้วจะมีขนาดประมาณ 1-1–8 มม.
 
== คุณค่าทางโภชนาการ ==
ข้าวโพด 100 กรัม จะให้พลังงาน 86 กิโล[[แคลอรี่]] (คิดเป็น 10-10–19% ของพลังงานที่รางกายต้องการใน 1 วัน) และยังอุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุต่าง ๆ มากมาย ดังแสดงในตาราง
 
{{nutritionalvalue | name=Sweetcorn, yellow, raw<br />(seeds only)
| kJ=360
| water=75.96 gกรัม
| protein=3.27 gกรัม
| fat = 1.35 gกรัม
| carbs=18.7 gกรัม
| fiber=2 gกรัม
| sugars=6.26 gกรัม
| starch=5.7 gกรัม
| iron_mg=0.52
| magnesium_mg=37
บรรทัด 70:
| vitA_ug=9
| lutein_ug=644
| tryptophan=0.023 gกรัม
| threonine=0.129 gกรัม
| isoleucine=0.129 gกรัม
| leucine=0.348 gกรัม
| lysine=0.137 gกรัม
| methionine=0.067 gกรัม
| cystine=0.026 gกรัม
| phenylalanine=0.150 gกรัม
| tyrosine=0.123 gกรัม
| valine=0.185 gกรัม
| arginine=0.131 gกรัม
| histidine=0.089 gกรัม
| alanine=0.295 gกรัม
| aspartic acid=0.244 gกรัม
| glutamic acid=0.636 gกรัม
| glycine=0.127 gกรัม
| proline=0.292 gกรัม
| serine=0.153 gกรัม
| source_usda=1
| note=[http://ndb.nal.usda.gov/ndb/search/list?qlookup=11167&format=Full Link toลิงก์ไปยังฐานข้อมูลของ USDA Database entry]<br />Oneฝักข้าวโพดขนาดกลาง ear(ความยาว of medium size ({{เศษ|6-|3/|4}}" toถึง {{เศษ|7-|1/|2}}" long)<br />maize hasมีน้ำหนักเมล็ด 90 grams of seedsกรัม
}}
 
== ปริมาณข้าวโพด ==
ข้าวโพดเลี้ยงสัตวมีการปลูกกันมากทั่วโลก และมีปริมาการผลิตที่เพิ่มมากขึ้นทุกปีมากกว่าธัญพืชชนิดอื่น ๆ ประเทศ[[สหรัฐอเมริกา]] สามารถผลิตข้าวโพดมากถึง 40 % ของโลก และประเทศอื่นที่สามารถผลิตข้าวโพดได้มาก เช่น [[จีน]], [[บราซิล]], [[เม็กซิโก]], [[อินโดนีเซีย]], [[อินเดีย]], [[ฝรั่งเศส]]และ[[อาร์เจนตินา]] ในปี ค.ศ. 2009 สามารถผลิตข้าวโพดได้ 817 ล้านตัน ซึ่งมากกว่าข้าวและข้าวสาลีที่ผลิตได้ 678 และ 682 ล้านตัน ตามลำดับ ในปี ค.ศ. 2009 มีพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มากกว่า 3,900 ล้านไร่
 
{| class="wikitable" style="margin:auto; clear:left;"
! colspan=2|สิบอันดับประเทศผู้ผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์<ref>{{citeCite web |title=FAOSTAT |url=http://faostat3.fao.org/faostat-gateway/go/to/browse/Q/QC/E |publisher=FOODFood ANDand AGRICULTUREAgriculture ORGANIZATIONOrganization OFof THEthe UNITEDUnited Nations NATIONS|accessdateaccess-date=August 5, 2014 |df=dmy-all}}</ref>
|-
! ประเทศ
บรรทัด 126:
 
== ประโยชน์ในด้านอื่น ๆ ==
ข้าวโพดสามารถส่งเสริมการย่อยสลาย[[พีเอเอช]]ที่ปนเปื้อนในดิน เช่นย่อยสลาย [[ฟีแนนทรีน]] [[ไพรีน]]ได้ 90 % ที่ความเข้มข้นเริ่มต้น 100 mgมิลลิกรัม/kgกิโลกรัม<ref>{{Cite journal |vauthors=Chouychai, W., Thongkukiatkul, A., Upatham, S., Lee, H., Pokethitiyook, P., and Kruatrachue, M. (|date=January 2009). [|url=http://appswww.isiknowledgejeb.comco.in/journal_issues/200901_jan09_spl/full_recordpaper_22.do?productpdf |title=WOS&search_mode=GeneralSearch&qid=1&SID=U2lBCFbee1OFg7mDk56&page=1&doc=1 Plant-assistedenhanced phenanthrene and pyrene biodegradation in acidic soil]{{ลิงก์เสีย |datejournal=กันยายนJournal 2021of Environmental Biology |botvolume=InternetArchiveBot30 |fix-attemptedissue=yes1 }}.|pages=139–144 Journal|pmid=20112876 of|issn=0254-8704 Environmental Biology,30, 139|df=dmy-144all}}</ref> และยังส่งเสริมการย่อยสลาย [[แอนทราซีน]]<ref>Somtrakoon, K. Somtrakoon, W. Chouychai, H. Lee. [http://www.tandfonline.com/doi/full/10.1080/15226514.2013.803024 Comparing Anthracene and Fluorene Degradation in Anthracene and Fluorene-Contaminated Soil by Single and Mixed Plant Cultivation]. International Journal of Phytoremediation. 2014. '''16''': 415-415–428. {{DOI: |10.1080/15226514.2013.803024}}</ref> [[เอนโดซัลแฟน]] ซัลเฟต<ref>Somtrakoon, K. Somtrakoon, M. Kruatrachue, and H. Lee. [http://link.springer.com/article/10.1007/s11270-014-1886-0 Phytoremediation of Endosulfan Sulfate-Contaminated Soil by Single and Mixed Plant Cultivations]. Water, Air, & Soil Pollution. 2014,. '''225:'''(1886). {{DOI|10.1007/s11270-014-1886-0}}.</ref>ได้ด้วย จึงมีประโยชน์ต่อการนำไปใช้[[phytoremediation|ฟื้นฟู]]ดินที่ปนเปื้อนสารมลพิษอินทรีย์
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{เริ่มอ้างอิง}}
== อ่านเพิ่มเติม ==
* พันทิพา พงษ์เพียจันทร์. "หลักการอาหารสัตว์ หลักโภชนศาสตร์และการประยุกต์". ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2547. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. {{ISBN|974-97-1215-3}}.
* [{{Cite web |url=http://web.ku.ac.th/agri/cornn/corn_b.htm |title=ข้าวโพด เว็บไซต์|website=มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์] {{Webarchive|archive-url=https://web.archive.org/web/20070117103010/http://web.ku.ac.th/agri/cornn/corn_b.htm |archive-date=2007-01-17 |df=dmy-all}}
* "[http://www.doa.go.th/fieldcrops/corn/index.htm ข้าวโพด]". ''เว็บไซต์กรมวิชาการเกษตร]''.
{{จบอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์|Zea mays}}
{{Wikispeciesวิกิสปีชีส์|Zea mays}}
* "[http://www.nytimes.com/2010/05/25/science/25creature25creature.html?scp=2&sq=corn&st=cse "Tracking the Ancestry of Corn Back 9,000 Years,]". ''New York Times, May''. 25, พฤษภาคม 2010].
* [{{Cite web |url=http://gisweb.ciat.cgiar.org/GapAnalysis/?p=284 |title=Crop Wild Relatives Gap Analysis Portal] {{Webarchive|archive-url=https://web.archive.org/web/20110418081432/http://gisweb.ciat.cgiar.org/GapAnalysis/?p=284 |archive-date=2011-04-18 |df=dmy-all}} reliable information source on where and what to conserve ''ex-situ'', regarding ''Zea'' genepool
* [http://www.simplysetup.com/simple-living-2/gardening/growing-corn.html Growing Corn] Information on the uses and starting of corn seed
* [http://www.pfaf.org/database/plants.php?Zea+mays&CAN=WIKIPEDIA ''Zea mays''] atที่ Plants For A Future]
* [http://www.maizegdb.org/ Maize Genetics and Genomics Database project]
* [http://www.maizesequence.org The Maize Genome Sequence Browser]
* {{dmoz|Science/Agriculture/Field_Crops/Cereals/Corn/|Corn}}
* [http://www.geochembio.com/biology/organisms/maize/ ''Zea mays'', corn taxonomy, facts, life cycle, kernel anatomy] atที่ ''GeoChemBio.com]''
* [http://www.ncbi.nlm.nih.gov/sites/entrez?Db=pubmed&Cmd=DetailsSearch&Term=%22Zea22Zea+mays%22%5BMajr5BMajr%5D5D+AND+%22loattrfree22loattrfree+full+text%22%5Bsb5Bsb%5D5D Major topic "''Zea mays''": free full text articles] inที่ National Library of Medicine]
 
[[หมวดหมู่:ธัญพืช]]