ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฉันทลักษณ์ (กวีนิพนธ์ไทย)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อน 3 การแก้ไขของ 2403:6200:8856:13C:84A9:8BFB:7F6E:3EDC (พูดคุย) ไปยังการแก้ไขของ Lookruk ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
# บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
{{ฉันทลักษณ์ไทย}}
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
'''ฉันทลักษณ์''' หมายถึง ลักษณะบังคับของคำประพันธ์ไทย ซึ่ง[[กำชัย ทองหล่อ]]ให้ความหมายไว้ว่า '''ฉันทลักษณ์''' คือตำราที่ว่าด้วยวิธีร้อยกรองถ้อยคำหรือเรียบเรียงถ้อยคำให้เป็นระเบียบตามลักษณะบังคับและบัญญัติที่นักปราชญ์ได้ร่างเป็นแบบไว้ ถ้อยคำที่ร้อยกรองขึ้นตามลักษณะบัญญัติแห่งฉันทลักษณ์ เรียกว่า ''คำประพันธ์''<ref name=kamchai>กำชัย ทองหล่อ. '''หลักภาษาไทย'''. รวมสาส์น (1977) : กรุงเทพฯ, 2545.</ref> และได้ให้ความหมายของ ''คำประพันธ์'' คือถ้อยคำที่ได้ร้อยกรองหรือเรียบเรียงขึ้น โดยมีข้อบังคับ จำกัดคำและวรรคตอนให้รับสัมผัสกัน ไพเราะ ตามกฎเกณฑ์ที่ได้วางไว้ในฉันทลักษณ์ โดยแบ่งเป็น 7 ชนิด คือ [[โคลง]] [[ร่าย]] [[ลิลิต]] [[กลอน]] [[กาพย์]] [[ฉันท์]] [[กลบท|กล]] ซึ่งก็คือ [[ร้อยกรอง|ร้อยกรองไทย]] นั่นเอง
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
 
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
ร้อยกรองไทยมีความหมาย 2 นัย นัยหนึ่งหมายถึงการแต่งหนังสือดีให้มีความไพเราะ อีกนัยหนึ่งหมายถึงถ้อยคำที่เรียบเรียงให้เป็นระเบียบตามบทบัญญัติแห่งฉันทลักษณ์ ทั้งนี้ ยังมีอีกหลายคำที่มีความหมายทำนองเดียวกัน เช่น [[กวีนิพนธ์]] บทกวี บทประพันธ์ กวีวัจนะ ลำนำ บทกลอน กาพย์กลอน กลอนกานต์ กานต์ รวมทั้งคำว่าฉันท์ กาพย์และกลอนด้วย<ref name=kapkanlon>กรมศิลปากร. ครรภครรลองร้อยกรองไทย. กรุงเทพฯ, 2545.</ref> บทความนี้มุ่งให้ความรู้เรื่องลักษณะบังคับของร้อยกรองไทยเป็นสำคัญ เพื่อเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจคำประพันธ์ไทยต่อไป
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
 
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
== ตำราฉันทลักษณ์ไทย ==
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
 
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
ตำราแต่งร้อยกรองไทยที่ถือเป็นตำราหลักเท่าที่ปรากฏต้นฉบับในปัจจุบัน มีอยู่ 7 เล่ม ส่วนใหญ่เป็นตำราแต่งกวีนิพนธ์แบบฉบับ ได้แก่
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# จินดามณี
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# ชุมนุมตำรากลอน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# ประชุมลำนำ ของ หลวงธรรมาภิมณฑ์
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# ฉันทศาสตร์ ของ นายฉันท์ ขำวิไล
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# ฉันทลักษณ์ ของ พระยาอุปกิตศิลปสาร
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# คัมภีร์สุโพธาลังการ แปลโดย น.อ.แย้ม ประพัฒน์ทอง
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
 
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
== การแบ่งฉันทลักษณ์ ==
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
 
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
'''สุภาพร มากแจ้ง'''<ref name=supaporn>สุภาพร มากแจ้ง. กวีนิพนธ์ไทย 1. กรุงเทพฯ, โอเดียนสโตร์, 2535.</ref> ได้วิเคราะห์ฉันทลักษณ์ร้อยกรองไทยไว้อย่างละเอียดใน ''กวีนิพนธ์ไทย''
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
 
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
ซึ่งกล่าวว่าการแบ่งฉันทลักษณ์อย่างแคบและนิยมใช้อยู่ทั่วไปจะได้ 5 ชนิดใหญ่ ๆ แต่หากรวมคำประพันธ์ท้องถิ่นเข้าไปด้วยจะได้ 10 ชนิดใหญ่ ๆ ได้แก่
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# [[โคลง]]
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# [[ฉันท์]]
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# [[กาพย์]]
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# [[กลอน]]
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# [[ร่าย]]
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# [[กานต์]]
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# [[ค่าว]]
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# [[กาพย์ (เหนือ)]]
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# [[กาบ (อีสาน)]]
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# [[กอน (อีสาน)]]
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
 
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
คำประพันธ์ทั้ง 10 ชนิดนี้ ถ้านำมาแบ่งตามลักษณะบังคับร่วมจะได้ 2 กลุ่มคือ
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
 
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
'''กลุ่มที่ 1 ไม่บังคับวรรณยุกต์''' ได้แก่ ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย และกานต์
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
 
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
'''กลุ่มที่ 2 บังคับวรรณยุกต์''' ได้แก่ โคลง กอน (อีสาน) กาบ (อีสาน) กาพย์ (เหนือ) และค่าว
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
 
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
== ลักษณะบังคับ ==
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
หมายถึง ลักษณะบังคับที่มีในคำประพันธ์ไทย ได้แก่
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# ครุ ลหุ
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# เอก โท
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# คณะ
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# พยางค์
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# สัมผัส
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# คำเป็น คำตาย
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# คำนำ
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
# คำสร้อย
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
 
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
=== ครุและลหุ ===
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
* '''ครุ''' คือพยางค์ที่มีเสียงหนัก ได้แก่ พยางค์ที่ประกอบด้วย สระเสียงยาว (ทีฆสระ) และ สระเกินทั้ง 4 คือ สระ อำ ใอ ไอ เอา และพยางค์ที่มีตัวสะกดทั้งสิ้น เช่น ตา ดำ หัด เรียน ฯลฯ
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
* '''ลหุ''' คือพยางค์ที่มีเสียงเบา ได้แก่พยางค์ที่ประกอบด้วย สระสั้น (รัสสระ) ที่ไม่มีตัวสะกด เช่น พระ จะ มิ ดุ แกะ ฯลฯ
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
 
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
=== เอก โท ===
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
* '''เอก''' คือพยางค์หรือคำที่มีรูปวรรณยุกต์เอก และบรรดาคำตายทั้งสิ้น ซึ่งในโคลง และร่าย ใช้เอกแทนได้ เช่น พ่อ แม่ พี่ ปู่ ชิ ชะ มัก มาก ฯลฯ
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
* '''โท''' คือพยางค์หรือคำที่มีรูปวรรณยุกต์โท เช่น น้า ป้า ช้าง นี้น้อง ต้อง เลี้ยว ฯลฯ
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
 
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
=== คณะ ===
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
* '''คณะ''' กล่าวโดยทั่วไปคือแบบบังคับที่วางเป็นกำหนดกฎเกณฑ์ไว้ว่า คำประพันธ์ชนิดนั้น จะต้องมีเท่านั้นวรรค เท่านั้นคำ และต้องมีเอกโท ครุลหุตรงนั้นตรงนี้
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
* แต่สำหรับใน '''[[ฉันท์]]''' คำว่า '''คณะ''' มีความหมายแคบ คือหมายถึง ลักษณะที่วางคำเสียงหนัก เสียงเบา ที่เรียกว่า ครุ ลหุ และแบ่งออกเป็น 8 คณะ คณะหนึ่งมีคำอยู่ 3 คำ เรียง ครุ ลหุ ไว้ต่างๆ กัน
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
 
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
คณะทั้ง 8 นั้น คือ '''ย ร ต ภ ช ส ม น''' ชื่อคณะทั้ง 8 นี้ เป็นอักษรที่ย่อมาจากคำเต็ม คือ
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
: ย มาจาก ยชมาน แปลว่า พราหมณ์บูชายัญ
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
: ร มาจาก รวิ แปลว่า พระอาทิตย์
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
: ต มาจาก โตย แปลว่า น้ำ
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
: ภ มาจาก ภูมิ แปลว่า ดิน
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
: ช มาจาก ชลน แปลว่า ไฟ
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
: ส มาจาก โสม แปลว่า พระจันทร์
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
: ม มาจาก มารุต แปลว่า ลม
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
: น มาจาก นภ แปลว่า ฟ้า
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
 
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
กำชัย<ref name=kamchai/> ได้แต่งคำคล้องจองไว้สำหรับจำ '''คณะ''' ไว้ดังนี้
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
: ย ยะยิ้มยวน (ลหุ-ครุ-ครุ)
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
: ร รวนฤดี (ครุ-ลหุ-ครุ)
#บ้าบ้าบี้บอย แว๊ก แว๊ก
: ส สุรภี (ลหุ-ลหุ-ครุ)
#
: ภ ภัสสระ (ครุ-ลหุ-ลหุ)
#
: ช ชโลมและ (ลหุ-ครุ-ลหุ)
: น แนะเกะกะ (ลหุ-ลหุ-ลหุ)
: ต ตาไปละ (ครุ-ครุ-ลหุ)
: ม มาดีดี/มาดี ๆ (ครุ-ครุ-ครุ)
 
เมื่อแยกพยางค์แล้ว จะได้ ครุ-ลหุ เต็มตามคณะทั้ง 8 (ชื่อคณะนี้ ไม่สู้จำเป็นในการเรียนฉันทลักษณ์ไทยนัก เพราะมุ่งจำครุ-ลหุกันมากกว่าจำชื่อคณะ เท่าที่จัดมาให้ดูเพื่อประดับความรู้เท่านั้น)
 
=== พยางค์ ===
'''พยางค์''' คือจังหวะเสียง ที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่งๆ หรือหน่วยเสียง ที่ประกอบด้วยสระตัวเดียว จะมีความหมาย หรือไม่ก็ตาม คำที่ใช้บรรจุในบทร้อยกรองต่างๆ นั้น ล้วนหมายถึง '''คำพยางค์''' ทั้งสิ้น คำพยางค์นี้ ถ้ามีเสียงเป็น ลหุ จะรวม 2 พยางค์ เป็นคำหนึ่ง หรือหน่วยหนึ่ง ในการแต่งร้อยกรองก็ได้ แต่ถ้ามี เสียงเป็น ครุ จะรวมกันไม่ได้ ต้องใช้พยางค์ละคำ
 
=== สัมผัส ===
'''สัมผัส''' คือลักษณะที่บังคับให้ใช้คำคล้องจองกัน คำที่คล้องจองกันนั้น หมายถึง คำที่ใช้สระ และมาตราสะกดอย่างเดียวกัน แต่ต้องไม่ซ้ำอักษร หรือซ้ำเสียงกัน (สระใอ, ไอ อนุญาตให้ใช้สัมผัสกับ อัย ได้) มี 2 ชนิด คือ สัมผัสนอกและสัมผัสใน
 
: 1. '''สัมผัสนอก''' ได้แก่คำที่บังคับให้คล้องจองกัน ในระหว่างวรรคหนึ่ง กับอีกวรรคหนึ่ง ซึ่งมีตำแหน่งที่ต่างๆ กัน ตามชนิดของคำประพันธ์นั้นๆ สัมผัสนอกนี้ เป็นสัมผัสบังคับ ซึ่งจำเป็นต้องมี จะขาดไม่ได้ ดังตัวอย่าง ที่โยงเส้นไว้ให้ดู เช่น
 
:: '''โคลง''' {{โคลงสี่สุภาพ
| แท้ไทยใช่เผ่าผู้ |แผ่ม'''หิทธิ์'''
| รักสงบระงับ'''จิต''' |ประจักษ์'''แจ้ง'''
| ไป่รานไป่รุก'''คิด''' |คดประทุษ ใครเลย
| เว้นแต่ชาติใด'''แกล้ง''' |กลั่นร้ายรานไทย}}
 
:: '''กลอน'''{{บทกวี |indent=1
| มิใช่ชายดอกนะจะดี'''เลิศ''' |หญิงประ'''เสริฐ'''เลิศดีก็มี'''ถม'''
| ชายเป็นปราชญ์หญิงฉลาดหลักแหลม'''คม''' |มีให้'''ชม'''ทั่วไปในธาตรี}}
 
: 2. '''สัมผัสใน''' ได้แก่ คำที่คล้องจองกัน และอยู่ในวรรคเดียวกัน จะเป็นสัมผัสคู่ เรียงคำไว้ติดต่อกัน หรือจะเป็นสัมผัสสลับ คือเรียงคำอื่น แทรกคั่นไว้ ระหว่างคำที่สัมผัสก็ได้สุดแต่จะเหมาะ ทั้งไม่มีกฎเกณฑ์จำกัดว่า จะต้องมีอยู่ตรงนั้น ตรงนี้ เหมือนอย่างสัมผัสนอก และไม่จำเป็น จะต้องใช้สระอย่างเดียวกันด้วย เพียงแต่ให้อักษรเหมือนกัน หรือเป็นอักษรประเภทเดียวกัน หรืออักษรที่มีเสียงคู่กัน ก็ใช้ได้ สัมผัสใน แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ สัมผัสสระและสัมผัสอักษร