ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตารางธาตุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 182.232.50.200 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย BeckNoDa
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
ให้ความรู้ถูกต้อง
บรรทัด 1:
{{บทความคัดสรร}}👋ผมเนมครับ 555 ตลกจังเลย ฮิไฟ
[[ไฟล์:Simple Periodic Table Chart-en.svg|frameless|upright=2|right|350px]]
 
'''ตารางธาตุ''' ({{lang-en|Periodic table}}) คือ การจัดเรียง[[ธาตุเคมี]]ในรูปแบบของตารางตาม[[เลขอะตอม]] [[การจัดเรียงอิเล็กตรอน]] และ[[สมบัติทางเคมี]]ที่ซ้ำกัน โดยจะใช้''[[แนวโน้มพิริออดิก]]''เป็นโครงสร้างพื้นฐานของตาราง แถวแนวนอนทั้ง 7 ของตารางเรียกว่า "[[คาบ (ตารางธาตุ)|คาบ]]" โดยปกติ[[โลหะ]]อยู่ฝั่งซ้ายและ[[อโลหะ]]อยู่ฝั่งขวา ส่วนแถวแนวตั้งเรียกว่า "[[หมู่ (ตารางธาตุ)|หมู่]]" ประกอบด้วยธาตุที่มีสมบัติทางเคมีคล้ายคลึงกัน มี 6 หมู่ที่ได้รับการตั้งชื่อที่ยอมรับกันทั่วไปและเลขหมู่ เช่น ธาตุหมู่ 17 มีชื่อว่า [[แฮโลเจน]] และธาตุหมู่ 18 มีชื่อว่า [[แก๊สมีตระกูล]] ตารางธาตุยังมีอาณาเขตรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าอย่างง่าย 4 รูปที่เรียกว่า "[[บล็อกในตารางธาตุ|บล็อก]]" ซึ่งเกี่ยวข้องกับการเติม[[ออร์บิทัลเชิงอะตอม]]ที่แตกต่างกัน
 
ธาตุทุกตัวนับตั้งแต่มีเลขอะตอมเท่ากับ 1 ([[ไฮโดรเจน]]) จนถึง 118 ([[ออกาเนสซอน]]) ได้รับการค้นพบหรือสังเคราะห์ขึ้นมาแล้ว ทำให้ตารางธาตุในปัจจุบันมีครบทั้ง 7 คาบ<ref>{{Cite news|url=https://www.bbc.co.uk/news/science-environment-35220823|title=Chemistry: Four elements added to periodic table|newspaper=BBC News|date=January 4, 2016|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160104125144/http://www.bbc.co.uk/news/science-environment-35220823|archivedate=4 January 2016|df=dmy-all}}</ref><ref>{{Cite news|first=Nicholas|last=St. Fleur|url=https://www.nytimes.com/2016/12/01/science/periodic-table-new-elements.html?rref=collection%2Fsectioncollection%2Fscience&action=click&contentCollection=science&region=rank&module=package&version=highlights&contentPlacement=1&pgtype=sectionfront|title=Four New Names Officially Added to the Periodic Table of Elements|work=New York Times|date=December 1, 2016|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170814221055/https://www.nytimes.com/2016/12/01/science/periodic-table-new-elements.html?rref=collection%2Fsectioncollection%2Fscience&action=click&contentCollection=science&region=rank&module=package&version=highlights&contentPlacement=1&pgtype=sectionfront|archivedate=14 August 2017|df=dmy-all}}</ref> ธาตุ 94 ตัวแรกพบได้ในธรรมชาติ แม้ว่าบางตัวอาจมีปริมาณน้อยและมีการสังเคราะห์ธาตุเหล่านั้นขึ้นก่อนที่จะพบในธรรมชาติก็ตาม{{#tag:ref|ธาตุที่สังเคราะห์ขึ้นก่อนที่จะพบในธรรมชาติภายหลัง ได้แก่ เทคนีเชียม (Z=43), โพรมีเทียม (61), แอสทาทีน (85), เนปทูเนียม (93), พลูโทเนียม (94), อะเมริเซียม (95), คูเรียม (96), เบอร์คีเลียม (97) และแคลิฟอร์เนียม (98)|group=n}} ส่วนธาตุที่มีเลขอะตอมเท่ากับ 95 ถึง 118 สังเคราะห์ขึ้นทั้งสิ้นในห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์หรือใน[[เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์]]<ref name="emsley">{{cite book|last=Emsley|first=John|title=Nature's Building Blocks: An A-Z Guide to the Elements|edition=New|year=2011|publisher=Oxford University Press|location=New York, NY|isbn=978-0-19-960563-7}}</ref> สำหรับธาตุที่มีเลขอะตอมสูงกว่านี้ ในปัจจุบันนักเคมีก็กำลังพยายามสร้างขึ้นมา ธาตุเหล่านี้จะเริ่มที่[[ตารางธาตุ (ขยาย)|คาบ 8]] และมีงานทฤษฎีต่าง ๆ ที่ให้รายละเอียดเกี่ยวกับธาตุในตำแหน่งเหล่านั้น [[นิวไคลด์กัมมันตรังสี]]สังเคราะห์จำนวนมากของธาตุที่พบได้ในธรรมชาติก็สร้างขึ้นในห้องปฏิบัติการด้วยเช่นกัน
 
การจัดเรียงตารางธาตุสามารถใช้อธิบายความสัมพันธ์ของสมบัติธาตุต่าง ๆ และยังใช้ทำนายสมบัติทางเคมีและพฤติกรรมของธาตุที่ยังไม่ได้ค้นพบหรือสังเคราะห์ใหม่ [[ดมีตรี เมนเดเลเยฟ]] นักเคมีชาวรัสเซีย ตีพิมพ์ตารางธาตุในลักษณะแบบนี้เป็นคนแรกในปี พ.ศ. 2412 จัดโดยเรียงตามสมบัติทางเคมีของธาตุที่มีในขณะนั้น และเมนเดเลเยฟยังสามารถ[[การทำนายธาตุของเมนเดเลเยฟ|ทำนายธาตุที่ยังไม่ค้นพบ]]ที่คาดว่าสามารถเติมเต็มช่องว่างในตารางธาตุได้ การทำนายของเขาส่วนใหญ่พิสูจน์แล้วว่าถูกต้อง แนวคิดของเมนเดเลเยฟก็ค่อย ๆ ขยายเพิ่มขึ้นและปรับปรุงด้วย[[เส้นเวลาของการค้นพบธาตุเคมี|การค้นพบหรือการสังเคราะห์ธาตุใหม่ ๆ]] และการพัฒนาแบบจำลองทางทฤษฎีใหม่ ๆ ที่ใช้อธิบายพฤติกรรมของธาตุเคมี ตารางธาตุในปัจจุบันให้กรอบความคิดที่เป็นประโยชน์ต่อการวิเคราะห์[[ปฏิกิริยาเคมี]] และนำไปใช้กันอย่างกว้างขวางในการศึกษาวิชา[[เคมี]] [[ฟิสิกส์นิวเคลียร์]] หรือวิทยาศาสตร์สาขาอื่น ๆ
 
== ภาพรวม ==
{{ตารางธาตุ (มาตรฐาน)}}
เส้น 24 ⟶ 16:
}}</ref>
 
ธาตุทั้งหมด 98 พบได้ในธรรมชาติ อีก 16 ธาตุที่เหลือ นับตั้งแต่ ธาตุที่ 99 (ไอน์สไตเนียม) จนถึงธาตุที่ 118 (ออกาเนสซอน) ถูกสังเคราะห์ขึ้นในห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์เท่านั้น ในบรรดาธาตุ 98 ตัวที่พบในธรรมชาตินี้ มีธาตุ 84 ตัวที่เป็น[[นิวไคลด์ดึกดำบรรพ์|ธาตุดึกดำบรรพ์]] และที่เหลืออีก 14 ธาตุปรากฏใน[[โซ่ของการสลายตัว]]ของธาตุดึกดำบรรพ์เหล่านั้น<ref name="emsley">{{cite book|last=Emsley|first=John|title=Nature's Building Blocks: An A-Z Guide to the Elements|edition=New|year=2011|publisher=Oxford University Press|location=New York, NY|isbn=978-0-19-960563-7}}</ref> ยังไม่มีใครพบธาตุที่หนักกว่าไอน์สไตเนียม (ธาตุที่ 99) ในรูปธาตุบริสุทธิ์ ในปริมาณที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าเลย<ref>{{cite book| title = The Chemistry of the Actinide and Transactinide Elements| editor1-last = Morss| editor2-first = Norman M.| editor2-last = Edelstein| editor3-last = Fuger|editor3-first = Jean| last = Haire|first = Richard G.| chapter = Fermium, Mendelevium, Nobelium and Lawrencium| publisher = [[Springer Science+Business Media]]| year = 2006| isbn = 1-4020-3555-1| location = Dordrecht, The Netherlands| edition = 3rd| ref = CITEREFHaire2006}}</ref>
 
=== การแบ่งตารางธาตุ ===