ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าอโศกมหาราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 8981516 สร้างโดย Besszaza (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
...
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{ความหมายอื่น||ภาพยนตร์|อโศกมหาราช}}
{{Infobox royalty
|title = [[จักรพรรดิ]]<ref name="Fogelin2015">{{cite book|author=Lars Fogelin|title=An Archaeological History of Indian Buddhism|url=https://books.google.com/books?id=yPZzBgAAQBAJ&pg=PA81|date=1 April 2015|publisher=Oxford University Press|isbn=978-0-19-994823-9|pages=81–}}</ref><ref name="Kleiner2015">{{cite book|author=Fred Kleiner|title=Gardner’s Art through the Ages: A Global History|url=https://books.google.com/books?id=q4bCBAAAQBAJ&pg=PT474|date=1 January 2015|publisher=Cengage Learning|isbn=978-1-305-54484-0|pages=474–}}</ref>
|image =Indian_relief_from_Amaravati,_Guntur._Preserved_in_Guimet_Museum.jpg
|caption =
|succession= [[ราชวงศ์โมริยะ|จักรพรรดิแห่งโมริยะ]] องค์ที่ 3
|reign = พ.ศ. 270–311 {{sfn|Upinder Singh|2008|p=331}}
|coronation = พ.ศ. 275 {{sfn|Upinder Singh|2008|p=331}}
|predecessor = [[พระเจ้าพินทุสาร]]
|successor = [[พระเจ้าทศรถ เมารยะ|พระเจ้าทศรถ]]
|othertitles= ''Devanampriya'', ''Priyadarshin''
|spouse= [[พระนางอสันธิมิตรา]]
|spouse-type=อัครมเหสี
|spouses= 4 นาง
|issue= 11 พระองค์
|spouses-type = พระสนม
|dynasty = [[ราชวงศ์โมริยะ|โมริยะ]]
|father = [[พระเจ้าพินทุสาร]]
|mother = [[พระนางสุภัทรางคี]]
|birth_date = พ.ศ. 239 ณ [[ปัฏนา]]
|religion = <!-- Do not add anything here. (See talk.) The reader can read about Ashoka's religion in the main article. !-->
|death_date = พ.ศ. 311 (ชันษา 72) ณ [[ปัฏนา]]
}}
'''พระเจ้าอโศกมหาราช''' ({{lang-sa|अशोकः}}; [[พ.ศ. 239]] - [[พ.ศ. 312]] ครองราชย์ [[พ.ศ. 270]] - [[พ.ศ. 311]]) เป็นจักรพรรดิอินเดียโบราณแห่ง [[ราชวงศ์โมริยะ]] หรือเมารยะผู้ปกครอง [[อนุทวีปอินเดีย]] เกือบทั้งหมดพระองค์เป็นราชนัดดา (หลาน) ของผู้ก่อตั้งราชวงศ์เมารยะคือ [[พระเจ้าจันทรคุปต์เมารยะ|พระเจ้าจันทรคุปต์]] ผู้สร้างหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในอินเดียโบราณและจันทรคุปต์สละทั้งหมดแล้วบวชเป็นนักบวชเชน พระเจ้าอโศกเป็นหนึ่งในจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่ของอินเดียพระองค์ขยายจักรวรรดิของพระเจ้าจันทรคุปต์และครอบครองเหนือดินแดนตั้งแต่ทางทิศตะวันตกคือพื้นที่ [[ประเทศอัฟกานิสถาน]] ในปัจจุบันขยายออกไปทางทิศตะวันออกถึงบังกลาเทศ เป็นพื้นที่ครอบคลุมอนุทวีปของชาวอินเดียทั้งหมดยกเว้นพื้นที่ที่เป็น [[รัฐทมิฬนาฑู]] ในปัจจุบัน [[คาร์นาตากา]]และ[[รัฐเกรละ]] เมืองหลวงของจักรวรรดิคือเมืองปาฏลีบุตร (ในแคว้นมคธปัจจุบันนี้คือเมือง[[ปัฏนะ]]) พร้อมด้วยเมืองหลวงต่างจังหวัดคือเมือง [[ตักศิลา]] และเมืองอุชเชน หรือ [[อุชเชนี]] ในครั้งพุทธกาล
 
ประมาณ พ.ศ. 283 หรือ 260 ปีก่อนคริสตกาลพระเจ้าอโศกทำสงครามทำลายล้างอย่างยืดเยื้อกับ[[แคว้นกาลิงคะ]]([[รัฐโอริศา]]ในปัจจุบัน) พระองค์เอาชนะแคว้นกาลิงคะได้ซึ่งไม่เคยมีบรรพบุรุษของพระองค์ทำได้มาก่อน เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่าพระองค์ยอมรับศาสนาพุทธ ตำนานบอกว่าพระองค์เปลี่ยนมานับถือศาสนาพุทธหลังจากประสบพบเห็นกับคนตายที่มากมายในสงครามแคว้นกาลิงคะ พระองค์เองหมดความรู้สึกยินดีกับความต้องการชัยชนะ พระเจ้าอโศกทรงตระหนักถึงสงครามแคว้นกาลิงคะ ซึ่งผลของสงครามมีคนตายมากกว่า 100,000 คน และ 150,000 คนถูกจับเป็นเชลยศึก สุดท้ายตายประมาณ 200,000 คน พระเจ้าอโศกเปลี่ยนมานับถือศาสนาพุทธประมาณ 263 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์ให้บันทึกพระบรมราชโองการไว้บนเสาศิลาเรียกว่า[[เสาอโศก]] และส่งสมณทูตเพื่อไปเผยแผ่พระพุทธศาสนายัง[[ประเทศศรีลังกา]]และ[[เอเชียกลาง]] ให้สร้างอนุสรณ์สถานเพื่อเป็นเครื่องหมายให้รู้ว่าสถานที่นี้เป็นสถานสำคัญในช่วงชีวิตของพระพุทธเจ้าขึ้นมากมายซึ่งเรียกว่า[[สังเวชนียสถาน]]
 
นอกจากพระบรมราช[[โองการของพระเจ้าอโศก]] การให้รายละเอียดถึงชีวประวัติของพระองค์อาศัยตำนานซึ่งเขียนขึ้นในหลายร้อยปีต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 2 ได้แก่อาศัยตำนาน[[อโศกาวทาน]] (เรื่องราวของพระเจ้าอโศกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของติวิยาวทาน Divyavadana) และใน[[ประเทศศรีลังกา]] อาศัยข้อความในคัมภีร์[[มหาวงศ์]] สัญลักษณ์ของสาธารณรัฐอินเดียก็ดัดแปลงมาจากสิงโต 4 ตัวหันหลังเข้าหากันหันหน้าไปยังทิศทั้ง 4 ของพระเจ้าอโศก พระนามของพระเจ้าอโศก หมายความว่า ไม่มีความทุกข์ หรือไม่มีความเศร้าโศกในภาษาสันสกฤต แยกศัพท์ออกเป็น น ปฏิเสธ แปลงเป็น อ แปลว่า ไม่ และคำว่า โสกะ แปลว่า ความโศกเศร้า หรือความทุกข์ใจ ในพระบรมราชโองการของพระองค์ พระองค์ได้ใช้พระนามว่าเทวานัมปริยะ (Devānāmpriya) บาลีเป็น เทวานมฺปิย (Devānaṃpiya) แปลว่า ผู้เป็นที่รักของทวยเทพ และพระนามว่า ปริยทรรศศิน (Priyadarśin) บาลีเป็น ปิยทัสสี (Piyadasī) แปลว่า ผู้เห็นทุกคนด้วยความรัก พระนามของพระองค์มีความสัมพันธ์กับ[[ต้นอโศก]] เพราะพระองค์ชอบต้นไม้ชื่อว่าต้นอโศกซึ่งเป็นการอ้างอิงในคัมภีร์อโศกาวทาน [[เอช. จี. เวลส์]] H.G. Wells ได้เขียนถึงพระเจ้าอโศกในหนังสือของเขาชื่อ The Outline of History ว่าในจำนวน 10,000 พระนามของพระมหากษัตริย์มากมายในตารางของประวัติศาสตร์ การได้รับการยกย่อง ความเป็นผู้มีพระมหากรุณาธิคุณ สันติสุข การได้รับความจงรักภักดีและความชื่นชมของพระมหากษัตริย์เหล่านั้น พระนามของพระเจ้าอโศกส่องสว่าง เจิดจรัสเป็นดาวดวงเดียวที่โดดเด่นทึ่สุด
 
พระเจ้าอโศกมหาราชเดิมมีพระอัธยาศัยโหดร้าย ชอบการทำสงครามกับแว่นแคว้นต่าง ๆ จนได้รับสมญานามว่า '''จัณฑาโศกราช''' (พระเจ้าอโศกผู้โหดเหี้ยม) แต่หลังจากที่พระองค์หันมานับถือ[[ศาสนาพุทธ]] พระองค์ก็ทรงกลายเป็นองค์เอกอัครพุทธศาสนูปถัมภก์ ผู้อุปถัมภ์บำรุงพระพุทธศาสนาให้มีความเจริญรุ่งเรืองและแผ่ขยายมากที่สุดใน[[ประวัติศาสตร์ศาสนาพุทธ]] และจากพระราชกรณียกิจมากมายนานัปการที่พระองค์ได้ทรงบำเพ็ญด้วย[[ทศพิธราชธรรม]]อย่างแท้จริง ทำให้ภายหลังทรงได้รับการขนานพระราชสมัญญานามว่า '''ธรรมาโศกราช''' (พระเจ้าอโศกผู้ทรงธรรม)
 
== พระราชประวัติ ==
=== พระราชสมภพ ===