ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเกณฑ์ทหารในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ลบการบิดเบือน
บรรทัด 195:
 
การทำร้ายร่างกายตัวเองหรือผู้อื่นเพื่อไม่ให้ต้องรับราชการทหารมีระวางโทษจำคุกหนึ่งปีถึงแปดปี<ref>มาตรา 48 พระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ. 2497</ref> เป็นโทษที่หนักที่สุดในพระราชบัญญัติรับราชการทหาร และเป็นโทษเดียวในพระราชบัญญัตินี้ที่มีอายุความถึง 15 ปี
 
== การคัดค้าน ==
เกิดคำถามถึงความจำเป็นสำหรับการเกณฑ์ทหารและเรียกร้องให้มีการถกเถียงอย่างเปิดเผยเกี่ยวกับประสิทธฺผลและคุณค่าต่อประเทศ<ref>{{cite news |title=Let's stop forcing boys to be soldiers |url=http://www.nationmultimedia.com/detail/opinion/30353201 |accessdate=29 August 2018 |work=The Nation |date=29 August 2018 |format=Opinion |archive-url=https://web.archive.org/web/20180828235424/http://www.nationmultimedia.com/detail/opinion/30353201 |archive-date=28 August 2018 |url-status=live |df=dmy-all }}</ref><ref>{{cite news |title=Do away with conscription |url=https://www.bangkokpost.com/opinion/opinion/1434054/do-away-with-conscription |accessdate=29 August 2018 |work=Bangkok Post |date=24 March 2018 |format=Opinion}}</ref><ref>{{cite news |last1=Draper |first1=John |last2=Sripokangkul |first2=Siwach |title=Transform conscription to national service |url=https://www.bangkokpost.com/opinion/opinion/1334063/transform-conscription-to-national-service |accessdate=29 August 2018 |work=Bangkok Post |date=30 September 2017 |format=Opinion}}</ref> นักวิจารณ์ยังอ้างว่าภัยคุกคามภายนอกต่อประเทศไทยในปี 2562 ไม่สำคัญ ด้านแผนความมั่นคงแห่งชาติของไทยซึ่งจัดพิมพ์ในปีเดียวกันเองก็มองว่าภัยคุกคามด้าน[[ภูมิรัฐศาสตร์]]ภายนอกต่อประเทศเล็กน้อยในหลายปีข้างหน้า<ref>{{cite web|last1=Ganjanakhundee |first1=Supalak |title=Thailand's New Security Highlights Threats to the Throne |url=https://www.iseas.edu.sg/medias/commentaries/item/10895-thailands-new-security-plan-highlights-threats-to-the-throne-by-supalak-ganjanakhundee |accessdate=5 December 2019 |website=ISEAS Yusof Ishak Institute|publisher=Institute of Southeast Asian Studies (ISEAS)|date=27 November 2019}}</ref>
 
มีการกล่าวหาว่าทหารเกณฑ์กว่าครึ่งลงเอยด้วยเป็นทหารรับใช้ของนายทหารระดับสูง<ref>{{cite news |title=Prawit denies servant for officer policy |url=https://www.bangkokpost.com/news/politics/1505262/prawit-denies-servant-for-officer-policy |accessdate=18 July 2018 |work=Bangkok Post |date=18 July 2018}}</ref> หรือเป็นเสมียนในร้านค้าสหกรณ์กองทัพ<ref>{{cite news|title=Ex-private stands firm after being harassed online for criticising military|url=https://prachatai.com/english/node/7454|accessdate=4 November 2017|work=Pratchatai English|date=3 November 2017|archive-url=https://web.archive.org/web/20171107021744/https://prachatai.com/english/node/7454|archive-date=7 November 2017|url-status=live|df=dmy-all}}</ref><ref>{{cite news |title=Conscripts aren't servants |url=https://www.bangkokpost.com/opinion/opinion/1506062/conscripts-arent-servants |accessdate=20 July 2018 |work=Bangkok Post |date=19 July 2018 |format=Opinion}}</ref>
 
วันที่ 4 เมษายน 2561 เพื่อนของ[[เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล]]ติดตามเขามาขอผ่อนผันทหาร และมีการแจกแบบสอบถามแก่ผู้มารอเกณฑ์ทหารและผู้สังเกตการณ์โดยมีข้อความว่า "เราควรเปลี่ยนระบบเกณฑ์ทหารจาก ระบบบังคับ เป็นระบบสมัครใจ" และ "กองทัพควรรับรองว่า พลทหารจะไม่ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนระหว่างเกณฑ์ทหาร 100%" จำนวน 169 ใบ พบว่ามีผู้เห็นด้วยกับข้อความแรก 144 คน และเห็นด้วยกับข้อความที่สอง 25 คน <ref>[https://www.posttoday.com/politic/news/546709 "เนติวิทย์"โชว์นาฬิกายืมเพื่อนมาขอผ่อนผันเกณฑ์ทหาร]</ref>
 
[[องค์การนิรโทษกรรมสากล]]ออกรายงานในเดือนมีนาคม 2563 กล่าวหาว่าทหารเกณฑ์ของไทยเผชิญกับการละเมิดอย่างเป็นสถาบันแต่ถูกทางการทหารปิดปากอย่างเป็นระบบ<ref>{{cite news |title=Weeks after Korat massacre, Amnesty report describes conscript abuses |url=https://www.bangkokpost.com/thailand/general/1884760/weeks-after-korat-massacre-amnesty-report-describes-conscript-abuses |accessdate=23 March 2020 |work=Bangkok Post |agency=Reuters |date=23 March 2020}}</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==