ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตการเงิน ค.ศ. 1907"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขผิดปกติในบทความคัดสรร/คุณภาพ การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{บทความคัดสรร}}
[[ไฟล์:1907 Panic.png|thumb|250px|[[วอลล์สตรีต]]ระหว่างความตื่นตระหนกในเดือนตุลาคม 1907]]
{{ใช้ปีคศ}}
'''วิกฤตการเงินปี 1907''' ({{lang-en|Panic of 1907}}) หรือ'''วิกฤตนิกเกอร์บอกเกอร์''' เป็นวิกฤตการณ์ทางการเงินในสหรัฐที่เกิดขึ้นในช่วงสามสัปดาห์เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคม เมื่อ[[ตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์ก]]ลดลงเกือบ 50% ของมูลค่าสูงสุดในปีก่อนหน้า เกิดความตื่นตระหนกเนื่องจากขณะนั้นอยู่ในช่วง[[ภาวะเศรษฐกิจถดถอย]] และมี[[การแห่ถอนเงิน]]จากธนาคารและ[[บริษัททรัสต์]]ต่าง ๆ สุดท้ายวิกฤตการเงินปี 1907 ลามไปทั่วประเทศเมื่อธนาคารและธุรกิจระดับรัฐและท้องถิ่นจำนวนมาก[[การล้มละลาย|ล้มละลาย]] สาเหตุหลักของการแห่ถอนเงิน ได้แก่ ธนาคารใน[[นครนิวยอร์ก]]จำนวนหนึ่งลด[[สภาพคล่อง]]ของตลาดและ[[ผู้ฝาก]]เสียความเชื่อมั่น ซึ่งแย่ลงเมื่อมีการพนันโดยไม่มีการวางระเบียบในตลาดมืดเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย<ref>Yale M. Braunstein, [http://people.ischool.berkeley.edu/~bigyale/fin_meltdown/InformationFailures_080409_color.ppt "The Role of Information Failures in the Financial Meltdown"], School of Information, UC Berkeley, Summer 2009</ref> วิกฤตครั้งนี้มีชนวนจากเหตุที่[[บริษัทยูไนเต็ดคอปเปอร์]]พยายาม[[ควบคุมตลาด|ควบคุมราคา]][[หุ้น]]ในเดือนตุลาคม 1907 แต่ล้มเหลว เมื่อความพยายามล้มเหลว ธนาคารซึ่งให้ยืมเงินเพื่อดำเนินแผนควบคุมราคานี้ก็ถูกผู้ฝากแห่ถอนเงินออกเป็นจำนวนมาก ที่ภายหลังแพร่ไปธนาคารและบริษัททรัสต์ในเครือเช่นกัน จนทำให้ในสัปดาห์ต่อมา[[นิกเกอร์บอกเกอร์ทรัสต์]] ซึ่งเป็นบริษัททรัสต์ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของนครนิวยอร์กล้ม การล่มสลายของนิกเกอร์บอกเกอร์ทำให้ความหวาดกลัวกระจายไปทั่วบริษัททรัสต์ในนครเพราะธนาคารภูมิภาคต่าง ๆ พากันถอน[[เงินสดสำรองธนาคาร|เงินสดสำรอง]]ออกจากธนาคารในนครนิวยอร์ก ความตื่นตระหนกกระจายต่อไปทั่วประเทศเมื่อคนจำนวนมากพากันถอนเงินฝากออกจากธนาคารภูมิภาคของตนด้วย
 
[[ไฟล์:1907 Panic.png|thumb|250px|างความตื่นตระหนกในเดือนตุลาคม 1907]]
ความตระหนกดังกล่าวอาจทวีความรุนแรงกว่านี้ถ้าไม่ได้นักการเงิน [[เจ. พี. มอร์แกน]] เข้าแทรกแซง เขาใช้เงินส่วนตัวจำนวนมากเข้าอุ้มระบบธนาคาร และเกลี้ยกล่อมให้นายธนาคารอื่น ๆ ในนครนิวยอร์กให้ทำเช่นเดียวกัน เหตุการณ์นี้เน้นความสำคัญของระบบการคลังอิสระของประเทศซึ่งจัดการปริมาณเงินของประเทศ แต่ไม่สามารถอัดฉีดสภาพคล่องกลับเข้าตลาดได้ ในเดือนพฤศจิกายน [[โรคระบาดทางการเงิน]]ส่วนใหญ่สงบลงแล้ว แต่ยังเกิดวิกฤตขนาดกว่าขึ้น สืบเนื่องจากบริษัทนายหน้าขนาดใหญ่ที่ใช้หุ้นของบริษัทเทนเนสซีโคล, ไอออนแอนด์เรลโรด (TC&I) เป็น[[หลักทรัพย์ประกัน]] การล้มของราคาหุ้นของ TC&I ถูกปัดป้องเมื่อบริษัทยูเอสสตีลของมอร์แกนเข้าซื้อกิจการฉุกเฉิน ซึ่งประธานาธิบดีทีโอดอร์ รูสเวลต์ผู้ต่อต้านการผูกขาดยอมรับ ปีต่อมา [[เนลสัน ดับเบิลยู. อัลดริช]] สมาชิก[[วุฒิสภาสหรัฐ|วุฒิสภา]] ก่อตั้งและเป็นประธานคณะกรรมการสอบสวนวิกฤตและยื่นเสนอวิธีแก้ปัญหาในอนาคต ซึ่งนำไปสู่การก่อตั้ง[[ระบบธนาคารกลางสหรัฐ]]
'''วิกฤตการเงินปี 1907''' () หรือ'''วิกฤตนิกเกอร์บอกเกอร์''' เป็นวิกฤตการณ์ทางการเงินในสหรัฐที่เกิดขึ้นในช่วงสามสัปดาห์เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคม เมื่อตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์กลดลงเกือบ 50% ของมูลค่าสูงสุดในปีก่อนหน้า เกิดความตื่นตระหนกเนื่องจากขณะนั้นอยู่ในช่วงภาวะเศรษฐกิจถดถอย และมีการแห่ถอนเงินจากธนาคารและบริษัททรัสต์ต่าง ๆ สุดท้ายวิกฤตการเงินปี 1907 ลามไปทั่วประเทศเมื่อธนาคารและธุรกิจระดับรัฐและท้องถิ่นจำนวนมากล้มละลาย สาเหตุหลักของการแห่ถอนเงิน ได้แก่ ธนาคารในนครนิวยอร์กจำนวนหนึ่งลดสภาพคล่องของตลาดและผู้ฝากเสียความเชื่อมั่น ซึ่งแย่ลงเมื่อมีการพนันโดยไม่มีการวางระเบียบในตลาดมืดเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย วิกฤตครั้งนี้มีชนวนจากเหตุที่บริษัทยูไนเต็ดคอปเปอร์พยายามในเดือนตุลาคม 1907 แต่ล้มเหลว เมื่อความพยายามล้มเหลว ธนาคารซึ่งให้ยืมเงินเพื่อดำเนินแผนควบคุมราคานี้ก็ถูกผู้ฝากแห่ถอนเงินออกเป็นจำนวนมาก ที่ภายหลังแพร่ไปธนาคารและบริษัททรัสต์ในเครือเช่นกัน จนทำให้ในสัปดาห์ต่อมานิกเกอร์บอกเกอร์ทรัสต์ ซึ่งเป็นบริษัททรัสต์ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของนครนิวยอร์กล้ม การล่มสลายของนิกเกอร์บอกเกอร์ทำให้ความหวาดกลัวกระจายไปทั่วบริษัททรัสต์ในนครเพราะธนาคารภูมิภาคต่าง ๆ พากันถอนเงินสดสำรองออกจากธนาคารในนครนิวยอร์ก ความตื่นตระหนกกระจายต่อไปทั่วประเทศเมื่อคนจำนวนมากพากันถอนเงินฝากออกจากธนาคารภูมิภาคของตนด้วย
 
ความตระหนกดังกล่าวอาจทวีความรุนแรงกว่านี้ถ้าไม่ได้นักการเงิน เจ. พี. มอร์แกน เข้าแทรกแซง เขาใช้เงินส่วนตัวจำนวนมากเข้าอุ้มระบบธนาคาร และเกลี้ยกล่อมให้นายธนาคารอื่น ๆ ในนครนิวยอร์กให้ทำเช่นเดียวกัน เหตุการณ์นี้เน้นความสำคัญของระบบการคลังอิสระของประเทศซึ่งจัดการปริมาณเงินของประเทศ แต่ไม่สามารถอัดฉีดสภาพคล่องกลับเข้าตลาดได้ ในเดือนพฤศจิกายน โรคระบาดทางการเงินส่วนใหญ่สงบลงแล้ว แต่ยังเกิดวิกฤตขนาดกว่าขึ้น สืบเนื่องจากบริษัทนายหน้าขนาดใหญ่ที่ใช้หุ้นของบริษัทเทนเนสซีโคล, ไอออนแอนด์เรลโรด (TC&I) เป็น[[หลักทรัพย์ประกัน]] การล้มของราคาหุ้นของ TC&I ถูกปัดป้องเมื่อบริษัทยูเอสสตีลของมอร์แกนเข้าซื้อกิจการฉุกเฉิน ซึ่งประธานาธิบดีทีโอดอร์ รูสเวลต์ผู้ต่อต้านการผูกขาดยอมรับ ปีต่อมา เนลสัน ดับเบิลยู. อัลดริช สมาชิก[[วุฒิสภาสหรัฐ|วุฒิสภา]] ก่อตั้งและเป็นประธานคณะกรรมการสอบสวนวิกฤตและยื่นเสนอวิธีแก้ปัญหาในอนาคต ซึ่งนำไปสู่การก่อตั้ง[[ระบบธนาคารกลางสหรัฐ]]
 
== สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ ==
[[ไฟล์:Post-and-Grant-Avenue-Look.jpg|thumb|[[แผ่นดินไหวที่ซานฟรานซิสโก ค.ศ. 1906|แผ่นดินไหวที่ซานฟรานซิสโกปี 1906]] ส่งผลกระทบร้ายแรงต่อเศรษฐกิจของสหรัฐ และทำให้ระบบธนาคารแห่งชาติอ่อนแอลงไปยิ่งกว่าเดิม]]
 
เมื่อประธานาธิบดี[[แอนดรูว์ แจ็กสัน]]ปล่อยให้กฎบัตรจัดตั้ง[[ธนาคารที่สองแห่งสหรัฐ]]หมดอายุลงในปี 1836 สหรัฐไม่เหลือหน่วยงาน[[ธนาคารกลาง]]ใด และ[[ปริมาณเงิน|ปริมาณเงินหมุนเวียน]]ในนครนิวยอร์กมีความผันผวนตามวงจรการเกษตรประจำปีของประเทศ ในฤดูใบไม้ร่วง เงินจะไหลออกจากนครเพื่อไปซื้อผลผลิต และมีการปรับดอกเบี้ยสูงขึ้นเพื่อพยายามดึงเงินกลับ นักลงทุนต่างชาติมักส่งเงินมาไปนิวยอร์กเพื่อทำกำไรจากอัตราดอกเบี้ยที่สูงกว่า<ref>{{Harvnb|Tallman|Moen|1990|pp=3–4}}</ref> ตั้งแต่เดือนมกราคม 1906 [[ดัชนีอุตสาหกรรมดาวโจนส์]]ที่อยู่ที่ระดับสูงถึง 103 จุดก็เริ่มค่อย ๆ ปรับฐาน ซึ่งใช้เวลาตลอดทั้งปี ในเดือนเมษายน 1906 เกิด[[แผ่นดินไหวที่ซานฟรานซิสโก ค.ศ. 1906|แผ่นดินไหวใหญ่]]ซึ่งทำลายซานฟรานซิสโกทำให้เศรษฐกิจผันผวน และยิ่งมีเงินจำนวนมากไหลออกจากนิวยอร์กมากขึ้นไปซานฟรานซิสโกเพื่อช่วยบูรณะ<ref>{{Harvnb|Odell|Weidenmier|2004}}</ref><ref>[http://www.saffo.com/pdfs/HIghTech_Quake2.pdf Paul Saffo, ABC News (April 17, 2008)]</ref> แรงตึงเครียดต่อปริมาณเงินหมุนเวียนเกิดขึ้นอีกในปลายปี 1906 เมื่อธนาคารแห่งอังกฤษขึ้นอัตราดอกเบี้ย ส่วนหนึ่งเพื่อตอบสนองต่อการที่บริษัทประกันภัยสหราชอาณาจักรจ่ายเงินจำนวนมากให้กับผู้ถือกรมธรรม์สหรัฐ และมีเงินคงค้างอยู่ในกรุงลอนดอนมากกว่าที่คาด<ref name="Moen1990">{{Harvnb|Tallman|Moen|1990|p=4}}</ref> ในเดือนกรกฎาคม 1906 ราคาหุ้นตกลงร้อยละ 18 เมื่อเทียบกับจุดสูงสุดในเดือนมกราคม ปลายเดือนกันยายน หุ้นฟื้นมูลค่าประมาณครึ่งหนึ่งของส่วนที่หายไป
 
[[รัฐบัญญัติเฮปเบิร์น]]ซึ่งมอบอำนาจแก่คณะกรรมการพาณิชย์ระหว่างรัฐ (Interstate Commerce Commission, ICC) ในการกำหนดเพดานราคาอัตราค่าบริการรถไฟนั้นเริ่มมีใช้ผลบังคับในปี 1906<ref name="Noyes1909">{{Harvnb|Noyes|1909|pp=361–2}}</ref> ซึ่งส่งผลให้หลักทรัพย์ในกลุ่มรถไฟมีมูลค่าลดลง<ref>{{Harvnb|Edwards|1907|p=66}}</ref> ระหว่างเดือนกันยายน 1906 และมีนาคม 1907 ตลาดหลักทรัพย์ปรับตัวลดลงร้อยละ 7.7 ของ[[มูลค่าตลาด]]<ref>วัดจากดัชนีของหุ้นที่จดทะเบียนทั้งหมด อ้างอิงจาก {{Harvnb|Bruner|Carr|2007|p=19}}</ref> ระหว่างวันที่ 9 ถึง 26 มีนาคม ดัชนีลดลงอีกร้อยละ 9.8<ref>{{Harvnb|Bruner|Carr|2007|p=20}}</ref> (การที่หุ้นปรับตัวลงอย่างมากในเดือนมีนาคมนี้บางทีเรียก "ความตระหนกของเศรษฐี")<ref name="Aliber2005">{{Harvnb|Kindleberger|Aliber|2005|p=102}}</ref> เศรษฐกิจยังคงมีความผันผวนตลอดฤดูร้อน มีเหตุการณ์หลายอย่างที่สร้างความตกใจขึ้นในระบบ เช่นหุ้นของ[[ยูเนียนแปซิฟิก]] ซึ่งเป็นหุ้นที่ใช้เป็น[[หลักทรัพย์ประกัน]]มากที่สุดตัวหนึ่ง ลดค่าลงถึง 50 จุด, ในเดือนมิถุนายนการเสนอขาย[[พันธบัตร]]ของนครนิวยอร์กล้มเหลว, ในเดือนกรกฎาคมตลาด[[ทองแดง]]ล้มลง, ในเดือนสิงหาคม [[บริษัทสแตนดาร์ดออย]]ถูกปรับเป็นเงิน 29 ล้านดอลลาร์สหรัฐเพราะฝ่าฝืน[[กฎหมายห้ามผูกขาด]]<ref name="Aliber2005" /> ในช่วงเก้าเดือนแรกของปี 1907 หุ้นลดค่าลงถึงร้อยละ 24.4<ref>{{Harvnb|Bruner|Carr|2007|p=32}}</ref>
 
วันที่ 27 กรกฎาคม หนังสือพิมพ์ ''[[เดอะคอมเมอเชียลแอนด์ไฟแนนเชียลโครนิเคิล]]'' กล่าวว่า "ตลาดยังไม่มั่นคง... ทันทีที่สัญญาณเปล่านี้ปรากฏชัด เหตุการณ์เช่นการที่ทองคำรั่วไหลไปกรุงปารีสก็ส่งผลให้เกิดความสั่นคลอนไปทั่วตลาด และการเพิ่มมูลค่าและความหวังก็มลายหายไป"<ref>{{Harvnb|Bruner|Carr|2007|p=31}}</ref> มีการแห่ถอนเงินเกิดขึ้นหลายแห่งนอกสหรัฐในปี 1907 เช่น ในประเทศอียิปต์ในเดือนเมษายนและพฤษภาคม, ในประเทศญี่ปุ่นในเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน, ใน[[ฮัมบูร์ก]]และประเทศชิลีในต้นเดือนตุลาคม<ref name="Noyes1909" /> ฤดูใบไม้ร่วงมักเป็นช่วงเวลาที่ระบบธนาคารอ่อนแอ เมื่อรวมกับความผันผวนในตลาดหลักทรัพย์แล้ว แรงช็อคเพียงเล็กน้อยก็ทำให้เกิดผลกระทบที่รุนแรงตามมาได้<ref name="Moen1990" />
 
== ความตื่นตระหนก ==
{| class="infobox" style="float:right; clear:right; margin-left:1em; margin-right:0em; font-size:90%; width:230pt;"
!style="background:#DCDCDC;" colspan="2"|ลำดับเหตุการณ์ของวิกฤตในนครนิวยอร์ก<ref>Distilled from {{Harvnb|Bruner|Carr|2007}}</ref>
|-
!style="background:#000000;" colspan="2"|
|-
!width="220pt"|วันจันทร์ที่ 14 ตุลาคม
|-
|ออตโต ไฮนซ์ เริ่มซื้อหุ้นของยูไนเต็ดคอปเปอร์เพื่อควบคุมตลาด
|-
! วันพุธที่ 16 ตุลาคม
|-
| การควบคุมตลาดของไฮนซ์ล้มเหลวอย่างไม่คาดฝัน กรอสแอนด์คลีเบิร์ก บริษัทนายหน้าของไฮนซ์ถูกปิดกิจการ วันนี้เป็นวันที่ถูกเรียกว่าวันที่การควบคุมตลาดพลาด
|-
! วันพฤหัสบดีที่ 17 ตุลาคม
|-
| ตลาดหลักทรัพย์สั่งห้ามออตโต ไฮนซ์ แอนด์คอมพานีซื้อขาย ธนาคารออมทรัพย์แห่งบัตต์ รัฐมอนแทนา ซึ่งเป็นของออกุสตุส ไฮนซ์ ประกาศว่าไม่สามารถชำระหนี้ได้ ออกุสตุสถูกบังคับให้ลาออกจากธนาคารแห่งชาติเมอร์แคนทีล ผู้คนเริ่มแห่ถอนเงินออกจากธนาคารของออกุสตุสและชาลส์ ดับเบิลยู. มอส ผู้สมคบคิดกับเขา
|-
! วันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม
|-
| สำนักงานหักบัญชีนิวยอร์กบังคับให้ออกุสตุสและมอสลาออกจากตำแหน่งที่เกี่ยวข้องกับธนาคารทั้งหมด
|-
! วันจันทร์ที่ 21 ตุลาคม
|-
| [[ชาลส์ ที. บาร์นี]]ถูกบังคับให้ลาออกจาก[[บริษัทนิกเกอร์บอกเกอร์ทรัสต์]] เพราะเขามีความเชื่อมโยงกับมอสและไฮนซ์ [[National Bank of Commerce (Kansas City)|ธนาคารพาณิชย์แห่งชาติ]]ประกาศว่าจะไม่ทำหน้าที่หักบัญชีให้นิกเกอร์บอกเกอร์
|-
! วันอังคารที่ 22 ตุลาคม
|-
| ประชาชนแห่ถอนเงินจนนิกเกอร์บอกเกอร์ต้องหยุดให้บริการ
|-
! วันพุธที่ 23 ตุลาคม
|-
| [[เจ. พี. มอร์แกน]] โน้มน้าวให้ประธานบริษัททรัสต์อื่น ๆ ช่วยเพิ่มสภาพคล่องให้กับบริษัททรัสต์แห่งอเมริกา ทำให้ไม่ล้ม
|-
! วันพฤหัสบดีที่ 24 ตุลาคม
|-
|[[จอร์จ บี. คอร์เทลยู]] [[รัฐมนตรีกระทรวงการคลังสหรัฐ]] ตกลงฝากเงินของรัฐเข้าธนาคารในนิวยอร์ก มอร์แกนชักจูงให้ประธานธนาคารต่าง ๆ นำเงิน 23 ล้านดอลลาร์สหรัฐมาหมุนเวียนในตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์กช่วยให้ไม่ต้องปิดตลาดก่อนเวลา
|-
! วันศุกร์ที่ 25 ตุลาคม
|-
| ตลาดหลักทรัพย์รอดวิกฤตได้อย่างหวุดหวิดไปอีกวัน
|-
! วันอาทิตย์ที่ 27 ตุลาคม
|-
|[[นครนิวยอร์ก]]แจ้ง[[จอร์จ เพอร์กินส์]] เพื่อนของมอร์แกน ว่าถ้าเขาไม่สามารถระดมเงิน 20–30 ล้านดอลลาร์สหรัฐได้ภายในวันที่ 1 พฤศจิกายน นครจะไม่สามารถชำระหนี้ได้
|-
! วันอังคารที่ 29 ตุลาคม
|-
| มอร์แกนซื้อพันธบัตรของนครนิวยอร์กมูลค่า 30 ล้านดอลลาร์สหรัฐเพื่อช่วยอุ้มไม่ให้ล้มละลาย
|-
! วันเสาร์ที่ 2 พฤศจิกายน
|-
| มัวร์แอนด์สไล บริษัทนายหน้าขนาดใหญ่ เกือบล้มละลายเพราะกู้เงินโดยใช้หลักทรัพย์ประกันเป็นหุ้นของบริษัท[[เทนเนสซีโคล, ไอออนแอนด์เรลโรด]] (TC&I) ซึ่งขณะนั้นราคาผันผวนมาก มีการเสนอให้[[ยูเอสสตีล]]ซื้อ TC&I
|-
! วันอาทิตย์ที่ 3 พฤศจิกายน
|-
| แผนการควบรวมกิจการระหว่างยูเอสสตีลกับ TC&I เสร็จสมบูรณ์
|-
! วันจันทร์ที่ 4 พฤศจิกายน
|-
| ประธานาธิบดี[[ธีโอดอร์ รูสเวลต์]] อนุมัติแผนยูเอสสตีลซื้อ TC&I แม้จะมีความกังวลเรื่องการผูกขาดกิจการ
|-
! วันอังคารที่ 5 พฤศจิกายน
|-
| ตลาดปิดเนื่องจากเป็น[[วันเลือกตั้งในสหรัฐอเมริกา|วันเลือกตั้ง]] (แต่ในปีนั้นไม่มีการจัดการเลือกตั้งกลาง)
|-
! วันพุธที่ 6 พฤศจิกายน
|-
| ยูเอสสตีลซื้อ TC&I เสร็จสิ้น ตลาดเริ่มฟื้นตัว ไม่มีการแห่ถอนเงินจากบริษัททรัสต์อีก
|}
 
=== ควบคุมหุ้นทองแดง ===
ความตื่นตระหนกในปี 1907 เริ่มต้นจากแผนการ[[การปั่นหุ้น|ปั่นหุ้น]]ของ[[เอฟ. ออกุสตุส ไฮนส์]]เพื่อ[[การควบคุมตลาด|ควบคุมตลาด]]ใน[[บริษัทยูไนเต็ดคอปเปอร์]] ไฮนส์สร้างกำไรเป็นกอบเป็นกำจากธุรกิจทองแดงในบัตต์ [[รัฐมอนแทนา]] ในปี 1906 เขาย้ายมานครนิวยอร์กและเริ่มมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ[[ชาลส์ ดับเบิลยู. มอส]] นายธนาคารวอลล์สตรีทผู้มีชื่อเสียงในด้านลบ มอสเคยควบคุมตลาดน้ำแข็งของนครนิวยอร์กสำเร็จ และเข้าควบคุมธนาคารหลายแห่งร่วมกับไฮนซ์ ทั้งคู่มีตำแหน่งใน[[ธนาคารแห่งชาติ]] 6 แห่ง [[ธนาคารรัฐ]] 10 แห่ง [[บริษัททรัสต์]] 5 รัฐ และ[[บริษัทประกันภัย]] 4 แห่ง เป็นอย่างน้อย<ref>{{Harvnb|Bruner|Carr|2007|pp=38–40}}</ref>
 
[[ไฟล์:Curb market.jpg|thumb|left|200px|ความตื่นตระหนกเริ่มต้นขึ้นที่ฟุตบาทนอก[[ตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์ก]]ซึ่งเป็นสถานที่ซื้อขายหุ้นที่คึกคัก ภายหลังตลาดบนฟุตบาทแห่งนี้ได้กลายเป็น[[ตลาดหลักทรัพย์อเมริกัน]]]]
เส้น 176 ⟶ 105:
นับแต่[[สงครามกลางเมืองอเมริกา]]สิ้นสุด สหรัฐประสบความตื่นตระหนกที่มีความรุนแรงต่าง ๆ กัน นักเศรษฐศาสตร์ ชาลส์ คาโลมิริส (Charles Calomiris) และแกรี กอร์ตัน (Gary Gorton) จัดอันดับความตื่นตระหนกที่นำไปสู่การปิดธนาคาร (suspension) อย่างกว้างขวางร้ายแรงที่สุดดังนี้ วิกฤตการเงินปี 1873, 1893, และ 1907 และการปิดธนาคารในปี 1914 การปิดธนาคารอย่างกว้างขวางถูกป้องกันผ่านการกระทำประสานงานระหว่างวิกฤตปี 1884 และ 1890 สำหรับวิกฤตธนาคารในปี 1896 ซึ่งมีความจำเป็นประสานงานที่รับรู้ บ้างก็จัดเป็นวิกฤตการเงินด้วย<ref name="Gorton1992" />
 
ความถี่ของวิกฤตและความรุนแรงของวิกฤตปี 1907 เพิ่มความกังวลเกี่ยวกับบทบาทใหญ่ผิดปกติของ[[เจ. พี. มอร์แกน]] ซึ่งนำสู่แรงกระตุ้นให้เกิดการอภิปรายเรื่องการปฏิรูประดับชาติรอบใหม่<ref>{{Harvnb|Smith|2004|pp=99–100}}</ref> ในเดือนพฤษภาคม 1908 รัฐสภาผ่านรัฐบัญญัติแอลดริช–วรีแลนด์ (Aldrich–Vreeland Act) ซึ่งตั้งคณะกรรมการการเงินแห่งชาติเพื่อสอบสวนวิกฤตการเงินและเสนอกฎหมายเพื่อวางระเบียบการธนาคาร<ref>{{Harvnb|Miron|1986|p=130}}</ref> สมาชิกวุฒิสภาเนลสัน แอลดริช ประธานคณะกรรมการการเงินแห่งชาติ เดินทางไปทวีปยุโรปเกือบสองปีเพื่อศึกษาระบบการธนาคารที่นั่น
 
=== ธนาคารกลาง ===
ข้อแตกต่างสำคัญระหว่างระบบการธนาคารของทวีปยุโรปและสหรัฐ คือ สหรัฐขาด[[ธนาคารกลาง]] รัฐยุโรปสามารถขยาย[[ปริมาณเงิน]]ระหว่างช่วง[[เงินสดสำรอง]]ต่ำได้ ความเชื่อว่าเศรษฐกิจสหรัฐอ่อนแอเมื่อปราศจากธนาคารกลางไม่ใช่ความเชื่อใหม่ ต้นปี 1907 นักธนาคาร เจคอบ ชิฟฟ์ (Jacob Schiff) แห่งคูน, โลบแอนด์โค. (Kuhn, Loeb & Co.) กล่าวสุนทรพจน์เตือนสภาหอการค้านิวยอร์กว่า "นอกเสียจากเรามีธนาคารที่มีการควบคุมทรัพยากรเครดิตเพียงพอ ประเทศนี้จะต้องประสบวิกฤตการเงินครั้งรุนแรงที่สุดและกว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์"<ref>{{Harvnb|Herrick|1908}}</ref>
 
แอลดริชจัดการประชุมลับกับนักการเงินชั้นนำของประเทศจำนวนหนึ่งที่เจคิลไอแลนด์คลับ นอกฝั่งรัฐจอร์เจีย เพื่ออภิปรายนโยบายการเงินและระบบการธนาคารในเดือนพฤศจิกายน 1910 แอลดริชและเอ. พี. แอนดริว (รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง), พอล วาร์เบิร์ก (เป็นตัวแทนคูน, โลบแอนด์โค.), แฟรงก์ เอ. แวนเดอร์ลิบ (ผู้สืบทอดตำแหน่งธนาคารนครแห่งชาตินิวยอร์กจากเจมส์ สติลแมน), เฮนรี พี. เดวีสัน (ผู้เป็นหุ้นส่วนอาวุโสของบริษัทเจ. พี. มอร์แกน), ชาลส์ ดี. นอร์ตัน (ประธานธนาคารแห่งชาติแรกนิวยอร์ก) และเบนจามิน สตรอง (เป็นตัวแทนเจ. พี. มอร์แกน) ผลิตการออกแบบสำหรับ "ธนาคารสำรองแห่งชาติ"<ref>{{Harvnb|Bruner|Carr|2007|p=143}}</ref>
 
มีการจัดพิมพ์รายงานสุดท้ายของคณะกรรมการการเงินแห่งชาติเมื่อวันที่ 11 มกราคม 1911 สมาชิกสภานิติบัญญัติถกเถียงข้อเสนอเกือบสองปี รัฐสภาผ่านรัฐบัญญัติระบบธนาคารกลาง (Federal Reserve Act) ในวันที่ 23 ธันวาคม 1913 ประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสันลงนามกฎหมายทันทีและมีการตรากฎหมายในวันเดียวกัน สถาปนา[[ระบบธนาคารกลางสหรัฐ]]<ref name=BC146>{{Harvnb|Bruner|Carr|2007|p=146}}</ref> ชาลส์ แฮมลินเป็นประธานระบบฯ คนแรก และเบนจามิน สตรอง รองประธานมอร์แกนเป็นประธานธนาคารกลางนิวยอร์ก ธนาคารภูมิภาคสำคัญที่สุดที่มีตำแหน่งถาวรในคณะกรรมการตลาดเสรีกลาง<ref name=BC146/>
 
=== คณะกรรมการพูโจ ===
แม้มอร์แกนถูกมองเป็นวีรบุรุษช่วงสั้น ๆ แต่ความกลัวกว้างขวางเกี่ยวกับ[[เศรษฐยาธิปไตย]]และการกระจุกความมั่งคั่งไม่นานก็ลบความเห็นนี้ ธนาคารของมอร์แกนรอด แต่บริษัททรัสต์ที่เป็นคู่แข่งกำลังเติบโตของธนาคารแบบเดิมได้รับความเสียหายหนัก นักวิเคราะห์บางส่วนเชื่อว่าวิกฤตนี้มีการวางแผนเพื่อสร้างความเสียหายต่อความเชื่อมั่นในบริษัททรัสต์เพื่อให้ธนาคารได้ประโยชน์<ref>{{Harvnb|McNelis|1969|pp=154–67}}</ref><ref>{{Harvnb|Chernow|1990|pp=122–123}}</ref> คนอื่นเชื่อว่ามอร์แกนฉวยประโยชน์จากวิกฤตนี้เพื่อให้บริษัทยูเอสสตีลของเขาเข้าซื้อทีซีแอนด์ไอ<ref>{{Harvnb|Chernow|1990|p=148}}</ref> แม้มอร์แกนเสียเงิน 21 ล้านดอลลาร์สหรัฐในวิกฤต แต่ความสำคัญของบทบาทเขาที่ป้องกันภัยพิบัติเลวร้ายที่สุดก็ไม่อาจแย้งได้ เขายังเป็นความสนใจของการตรวจสอบและวิจารณ์อย่างเข้มข้นด้วย<ref name="Chernow1990" /><ref>[[Strouse, Jean|Jean Strouse]]. "[https://www.washingtonpost.com/wp-dyn/content/article/2008/09/26/AR2008092602837.html Here's How It's Done, Hank: A Parable From a Crisis of a Century Ago]". ''[[The Washington Post]]'' (September 28, 2008), p. b1. Retrieved on September 30, 2008.</ref><ref>{{Harvnb|Bruner|Carr|2007|p=182}}</ref>
 
ประธานคณะกรรมาธิการการธนาคารและเงินตราของสภาผู้แทนราษฎร ผู้แทนราษฎรอาร์ซีน พูโจ (Arsène Pujo) จัดประชุมพิเศษเพื่อสอบสวน "การรวมกันผูกขาดเงิน" ซึ่งเป็นการผูกขาดโดยพฤตินัยของมอร์แกนและนายธนาคารทรงอำนาจที่สุดของรัฐนิวยอร์กคนอื่น ๆ คณะกรรมาธิการฯ ออกรายงานเสียดแทงว่าด้วยการค้าการธนาคาร และพบว่าเจ้าหน้าที่ของเจ. พี. มอร์แกนแอนด์โค. ยังเป็นคณะกรรมการบริหารของบริษัท 112 บริษัทที่มีมูลค่าตามราคาตลาด 22,500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (มูลคารวมของตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์กประมาณการไว้ 26,500 ล้านดอลลาร์สหรัฐในเวลานั้น)<ref>{{Harvnb|Bruner|Carr|2007|p=148}}</ref>
 
แม้สุขภาพทรุดโทรม แต่เจ. พี. มอร์แกนให้การต่อคณะกรรมการพูโจและเผชิญการตอบคำถามจากซามูเอล อันเทอร์ไมเออร์ (Samuel Untermyer) หลายวัน การถามตอบของอันเทอร์ไมเออร์กับมอร์แกนเรื่องธรรมชาติจิตวิทยามูลฐานของการธนาคาร ว่าเป็นอุตสาหกรรมที่สร้างขึ้นจากความเชื่อมั่น มักถูกยกมาในบทความธุรกิจ<ref name=BC1823>{{Harvnb|Bruner|Carr|2007|pp=182–83}}</ref><ref>{{Harvnb|Chernow|1990|p=154}}</ref>
 
:'''อันเทอรฺไมเออร์:''' เครดิตพาณิชย์มิได้ยึดบนเงินหรือทรัพย์สินเป็นหลักมิใช่หรือ
:'''มอร์แกน:''' ไม่ครับ สิ่งแรกคืออุปนิสัย (character)
:'''อันเทอรฺไมเออร์:''' มาก่อนเงินหรือทรัพย์สินหรือ
:'''มอร์แกน:''' ก่อนเงินหรืออะไรอื่น เงินไม่สามารถซื้อได้ ... คนที่ผมไม่เชื่อมั่นไม่สามารถเอาเงินจากผมได้ในทุกพันธบัตรในหมู่คริสเตียน<ref name=BC1823/>เงิ
 
ผู้ช่วยของมอร์แกนโทษว่าร่างกายของเขาทรุดโทรมลงอย่างต่อเนื่องจากการไต่สวนนี้ ในเดือนกุมภาพันธ์เขาป่วยหนักและเสียชีวิตในวันที่ 31 มีนาคม 1913 เก้าเดือนหลัง "การรวมกันผูกขาดเงิน" จะถูกระบบธนาคารกลางเป็น[[ผู้ให้กู้รายสุดท้าย]]แทน<ref name=BC1823/>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|2}}
 
* อ
== บรรณานุกรม ==
*
* {{Citation | title = The Panic of 1907: Lessons Learned from the Market's Perfect Storm | last = Bruner | first = Robert F. | last2 = Carr | first2 = Sean D. | year = 2007 | publisher = John Wiley & Sons | location = Hoboken, New Jersey | isbn = 978-0-470-15263-8 }}
*
* {{Citation | chapter = The Origins of Banking Panics: Models, Facts and Bank regulation | last = Calomiris | first = Charles W. | last2 = Gorton | first2 = Gary | year = 1992 | editor-last = Hubbard | editor-first = R. Glenn (ed.) | publisher = [[University of Chicago Press]] | location = Chicago | title = Financial Markets and Financial Crises | isbn = 0-226-35588-8}}
*
* {{Citation | title = Interest Rate Uncertainty and the Founding of the Federal Reserve | last = Caporale | first = Tony | last2 = McKiernan | first2 = Barbara | journal = The Journal of Economic History | volume = 58 | issue = 4 | year = 1998 | pages = 1110–17 |doi=10.1017/S0022050700021756 }}
*
* {{Citation | title = The Morgans: Private International Bankers, 1854–1913 | last = Carosso | first = Vincent P. | year = 1987 | publisher = [[Harvard University Press]] | location = Cambridge | isbn = 0-674-58729-4 }}
*
* {{Citation | last = Chernow | first = Ron | authorlink = Ron Chernow | title = The House of Morgan: An American Banking Dynasty and the Rise of Modern Finance | year = 1990 | isbn = 0-8021-3829-2 | publisher = Grove Press | location = New York }}
*
* {{Citation | last = Chernow | first = Ron | title = Titan: the life of John D. Rockefeller, Sr | year = 1998 | publisher = Random House | location = New York | isbn = 0-679-43808-4 }}
*
* {{Citation | title = The Roosevelt Panic of 1907 | last = Edwards | first = Adolph | year = 1907 | publisher = Anitrock Pub. Co | url = http://books.google.com/?id=R3koAAAAYAAJ | format = PDF}}
*
* {{Citation | title = A Monetary History of the United States: 1867–1960 | last = Friedman | first = Milton | authorlink = Milton Friedman | last2 = Jacobson Schwartz | first2 = Anna | year = 1963 | publisher = [[Princeton University Press]] | location = Princeton | isbn = 0-691-00354-8}}
*
* {{Citation | title = Clearinghouses and the Origin of Central Banking in the United States | last = Gorton | first = Gary | journal = The Journal of Economic History | volume = 45 | issue = 2 | pages = 277–283 |doi=10.1017/S0022050700033957 | year = 2009 }}
*
* {{Citation | journal = Journal of Monetary Economics | volume = 53 | issue = 7 | year = 2006 | pages = 1613–1629 | title = Bank panics and the endogeneity of central banking | last = Gorton | first = Gary | last2 = Huang | first2 = Lixin | doi = 10.1016/j.jmoneco.2005.05.015 }}
*
* {{Citation | last = Griffin | first = G. Edward | authorlink = G. Edward Griffin | title = The Creature from Jekyll Island: A Second Look at the Federal Reserve | publisher = American Media | year = 1998 | isbn = 0-912986-21-2 }}
*
* {{Citation | last = Herrick | first = Myron T. | title = The Panic of 1907 and Some of Its Lessons | journal = Annals of the American Academy of Political and Social Science | volume = 31 | year = 1908 | doi = 10.1177/000271620803100203 | pages = 8–25 | issue = 2 }}
*
* {{Citation | title = The Sixty-first Second | last = Johnson | first = Owen | authorlink = Owen Johnson | year = 1913 | publisher = Frederick A. Stokes Company | location = New York | oclc = 3101622 | url = http://www.archive.org/download/sixtyfirstsecon00compgoog/sixtyfirstsecon00compgoog.pdf | format = PDF}}. Retrieved January 11, 2010.
*
*{{citation | title = Manias, Panics, and Crashes: A History of Financial Crises (5th ed.) | last = Kindleberger | first = Charles P. | authorlink = Charles P. Kindleberger | year = 2005| publisher = John Wiley & Sons | location = Hoboken | isbn = 978-0-471-46714-4 | first2 = Robert | last2 = Aliber }}
*
*{{Citation | last = McNelis | first = Sarah | title = Copper King at War: The Biography of F. Augustus Heinze | year = 1969 | edition = 2nd | publisher = University of Montana Press | location = Missoula | oclc = 7369533}}
*
*{{Citation | last = Miron | first = Jeffrey A. | title = Financial Panics, the Seasonality of the Nominal Interest Rate, and the Founding of the Fed | journal = [[American Economic Review]] | year = 1986 | url = http://fraser.stlouisfed.org/docs/meltzer/mirfin86.pdf |format=PDF| volume = 76 | issue = 1 | pages = 125–40 }}
*
* {{Citation | last = Moen | first = Jon | last2 = Tallman | first2 = Ellis | year = 1992 | title = The Bank Panic of 1907: The Role of the Trust Companies | journal = The Journal of Economic History | volume = 52 | issue = 3 | pages = 611–30 |doi=10.1017/S0022050700011414 }}
*
* {{Citation | title = Forty Years of American Finance | last = Noyes | first = Alexander Dana | year = 1909 | publisher = G. P. Putnam's sons | url = http://books.google.com/?id=7hkYAAAAMAAJ | isbn = 978-0-405-13672-6}}
*
* {{Citation | title = Real Shock, Monetary Aftershock: The 1906 San Francisco Earthquake and the Panic of 1907 | first = Kerry A. | last = Odell | first2 = Marc D. | last2 = Weidenmier | journal = The Journal of Economic History | year = 2004 | volume = 64 | issue = 4 | pages = 1002–1027 | doi = 10.1017/S0022050704043062 }}
*
* {{Citation | last = Smith | first = B. Mark | title = A History of the Global Stock Market; From Ancient Rome to Silicon Valley (2004 ed.) | publisher = University of Chicago Press | location = Chicago | isbn = 0-226-76404-4 | year = 2004 }}
*
* {{Citation | last = Sprague | first = Oliver M.W. | year = 1908 | title = The American Crisis of 1907 | journal = The Economic Journal | volume = 18 | pages = 353–372 | doi = 10.2307/2221551 | issue = 71 | publisher = The Economic Journal, Vol. 18, No. 71 | jstor = 2221551 }}
* {{Citation | last2 = Moen | first2 = Jon | last = Tallman | first = Ellis W. | year = 1990 | title = Lessons from the Panic of 1907 | journal = Federal Reserve Bank of Atlanta Economic Review | volume = 75 | pages = 2–13 | url = http://www.frbatlanta.org/filelegacydocs/ern390_tallman.pdf |format=PDF}}. Retrieved on September 14, 2008.
 
[[หมวดหมู่:วิกฤตการณ์การเงิน]]