ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สึนามิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Megatsunami-coast.jpg|thumb|400px|ภาพแสดงคลื่นสึนามิพัดขึ้นฝั่ง]]
 
'''คลื่นสึนามิ''' ({{ญี่ปุ่น|
'''คลื่นสึนามิ''' ({{ญี่ปุ่น|津波|tsunami||"คลื่นที่ท่าเรือ" หรือ "คลื่นชายฝั่ง"}}<ref>{{cite web|url=http://nthmp-history.pmel.noaa.gov/terms.html|title=Tsunami Terminology|publisher=[[NOAA]]|access-date=2010-07-15|url-status=dead|archive-url=https://web.archive.org/web/20110225143835/http://nthmp-history.pmel.noaa.gov/terms.html|archive-date=2011-02-25}}</ref>, {{IPA-ja|t͡sɨᵝna̠mʲi|pron}}) เป็นกลุ่มคลื่นน้ำที่เกิดขึ้นจากการย้ายที่ของปริมาตรน้ำก้อนใหญ่ คือ มหาสมุทรหรือทะเลสาบขนาดใหญ่ แผ่นดินไหว การปะทุของ[[ภูเขาไฟ]]และการระเบิดใต้น้ำอื่น ๆ (รวมทั้งการจุดวัตถุระเบิดหรือวัตถุระเบิดนิวเคลียร์ใต้น้ำ) ดินถล่ม ธารน้ำแข็งไถล อุกกาบาตตกและการรบกวนอื่น ไม่ว่าเหนือหรือใต้น้ำ ล้วนอาจก่อให้เกิดเป็นคลื่นสึนามิได้ทั้งสิ้น<ref>{{cite journal|title=When icebergs capsize, tsunamis may ensue|url=http://blogs.nature.com/barbaraferreira/2011/04/17/when-icebergs-capsize|author=Barbara Ferreira|date=April 17, 2011|journal=[[Nature (journal)|Nature]]|access-date=2011-04-27|archive-date=2012-06-22|archive-url=https://www.webcitation.org/68ceLYuiA?url=http://blogs.nature.com/barbaraferreira/2011/04/17/when-icebergs-capsize|url-status=dead}}</ref>
 
คลื่นสึนามิไม่เหมือนกับคลื่นทะเล (tidal wave) ตามปกติ เพราะมีความยาวคลื่นยาวกว่ามาก แทนที่จะเป็นคลื่นหัวแตก (breaking wave) ตามปกติ<ref>{{cite web|url=http://www.jpl.nasa.gov/news/news.php?release=2011-374|title=NASA Finds Japan Tsunami Waves Merged, Doubling Power|website=[[Jet Propulsion Laboratory]]|access-date=3 November 2016}}</ref> คลื่นสึนามิเริ่มแรกอาจดูเหมือนกับว่าคลื่นน้ำเพิ่มระดับสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว<ref>{{cite web|url=http://courses.washington.edu/larescue/Tsunami101/Tsunami101.htm|title= Tsunami 101|publisher= University of Washington |access-date= 1 December 2018}}</ref> และด้วยเหตุนี้ คลื่นสึนามิจึงมักเรียกว่าเป็น[[คลื่นยักษ์]]/คลื่นชายฝั่ง<ref>{{Cite web | url=https://www.merriam-webster.com/dictionary/tidal%20wave | title=Definition of Tidal Wave}}</ref> ถึงแม้ว่าชุมชนนักวิทยาศาสตร์ไม่นิยมใช้คำนี้ เนื่องจากศัพท์นี้อาจเป็นความประทับใจเท็จในความสัมพันธ์ทั่วไประหว่างกระแสน้ำกับสึนามิ<ref>{{cite web|url= https://earthweb.ess.washington.edu/tsunami/general/physics/meaning.html |title= What does "tsunami" mean? | publisher = Earth and Space Sciences, University of Washington | access-date = 1 December 2018}}</ref> โดยทั่วไป คลื่นสึนามิประกอบด้วยกลุ่มคลื่นซึ่งมีคาบเป็นนาทีหรืออาจมากถึงชั่วโมง มากันเรียกว่าเป็น "คลื่นขบวน" (wave train)<ref name="Fradin 2008">{{cite book |last=Fradin |first=Judith Bloom and Dennis Brindell |title=Witness to Disaster: Tsunamis |publisher=[[National Geographic Society]] |location=Washington, D.C. |date=2008 |series=Witness to Disaster |pages=42–43 |url=http://shop.nationalgeographic.com/ngs/product/books/kids-books-and-atlases/animals-and-nature/witness-to-disaster%3A-tsunamis |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20120406091721/http://shop.nationalgeographic.com/ngs/product/books/kids-books-and-atlases/animals-and-nature/witness-to-disaster:-tsunamis |archive-date=2012-04-06 }}</ref> ความสูงของคลื่นหลายสิบเมตรนั้นอาจเกิดขึ้นได้จากเหตุการณ์ขนาดใหญ่ แม้ผลกระทบของคลื่นสึนามินั้นจะจำกัดอยู่แค่พื้นที่ชายฝั่ง แต่อำนาจทำลายล้างของมันสามารถมีได้ใหญ่หลวงและสามารถมีผลกระทบต่อทั้งแอ่งมหาสมุทร [[แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547|คลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย ค.ศ. 2004]] เป็นหนึ่งในภัยธรรมชาติครั้งที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ โดยมีผู้เสียชีวิตกว่า 230,000 คน ใน 14 ประเทศที่ติดกับ[[มหาสมุทรอินเดีย]]
 
[[ธูซิดดิดีส]] นักประวัติศาสตร์ชาวกรีก เสนอเมื่อ 426 ปีก่อนคริสตกาล ว่า คลื่นสึนามิเกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวใต้ทะเล<ref name="Thucydides 3.89.1-4">[[Thucydides]]: [http://www.perseus.tufts.edu/cgi-bin/ptext?lookup=Thuc.+3.89.1 “A History of the Peloponnesian War”, 3.89.1–4]</ref><ref name="Smid, T. C. 103f.">{{cite book|last=Smid|first=T. C.|title='Tsunamis' in Greek Literature|edition=2nd|volume=17|date=Apr 1970|pages=100–104|work=Greece & Rome|issue=1}}</ref> แต่ความเข้าใจในธรรมชาติของคลื่นสึนามิยังมีเพียงเล็กน้อยกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 และยังมีอีกมากที่ยังไม่ทราบในปัจจุบัน ขณะที่แผ่นดินไหวที่รุนแรงน้อยกว่ามากกลับก่อให้เกิดคลื่น พยายามพยากรณ์เส้นทางของคลื่นสึนามิข้ามมหาสมุทรอย่างแม่นยำ และยังพยากรณ์ว่าคลื่นสึนามิจะมีปฏิสัมพันธ์กับชายฝั่งแห่งหนึ่ง ๆ อย่างไร
 
== ศัพทมูล ==
===สึนามิ===
{{infobox Chinese
|pic=Tsunami (Chinese characters).svg
|piccap="สึนามิ"ใน''[[อักษรคันจิ]]''
|picupright=0.35
|kanji=津波
|romaji=tsunami
}}
[[ไฟล์:The Great Wave off Kanagawa.jpg|thumb|250px|ภาพศิลปะของศิลปินชาวญี่ปุ่น "The Great Wave at Kanagawa" (จากภาพชุดของภูเขาไฟฟูจิ) ขนาดกว้าง 10 นิ้ว ยาว 15 นิ้ว ที่เก็บรักษาอยู่ที่ Metropolitan Museum of Art นิวยอร์ก แม้ภาพดังกล่าวจะใช้พูดถึงคลื่นสึนามิ แต่แท้จริงแล้วภาพนี้ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับคลื่นสึนามิแต่อย่างใด]]
 
'''สึนามิ''' ออกเสียงในภาษาญี่ปุ่นคือ {{IPA|/tsunami/}} ''สึนามิ'' ซึ่งต่างกันเล็กน้อยกับการออกเสียงใน[[ภาษาอังกฤษ]]ว่า {{IPA|/suːnɑːmi (ː) /}} ''สึนามิ'' หรือ {{IPA|/tsuːnɑːmi (ː) /}} '' (ทซู) นามิ'' (ท ควบ ซ ในเสียงญี่ปุ่น) คำว่า "สึนามิ" มีความหมายว่า "ท่าเรือ" (津 ''สึ'') และ "คลื่น" (波/浪 ''นามิ'')
 
===คลื่นยักษ์===
บางครั้งคลื่นสึนามิเรียกว่า '''คลื่นยักษ์'''<ref>{{cite web|url=http://www.merriam-webster.com/dictionary/tidal%20wave|title=Definition of Tidal Wave|access-date=3 November 2016}}</ref> แต่ในช่วงปีหลัง คำนี้ค่อย ๆ เสื่อมความนิยมลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแวดวงวิทยาศาสตร์ เพราะคลื่นสึนามิไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกับกระแสน้ำเลย คำว่า "คลื่นยักษ์" ที่ครั้งหนึ่งเคยนิยมใช้นี้ มาจากลักษณะปรากฏทั่วไปที่สุด ซึ่งคือ คลื่นทะเลหนุน (tidal bore) สูงผิดปกติ ทั้งคลื่นสึนามิและกระแสน้ำต่างก็ก่อให้เกิดคลื่นน้ำที่พัดพาเข้าสู่ฝั่ง แต่ในกรณีของคลื่นสึนามิ การเคลื่อนที่ของน้ำในแผ่นดินนั้นยิ่งใหญ่กว่าและกินเวลานานกว่ามาก จึงให้ความรู้สึกของกระแสน้ำสูงอย่างน่าเหลือเชื่อ คำว่า "คลื่นสึนามิ" เองก็ไม่ถูกต้องนักเมื่อเทียบกับ "คลื่นยักษ์" เพราะคลื่นสึนามิไม่จำกัดอยู่เฉพาะกับท่าเรือ บรรดานักธรณีวิทยาและนักสมุทรศาสตร์ต่างไม่เห็นด้วยกับคำว่าคลื่นยักษ์ แต่เห็นว่าชื่อคลื่นตามลักษณะของคลื่นนั้นธรรมดาควรแทนชื่อด้วยศัพท์ทางธรณีวิทยาและสมุทรศาสตร์
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/สึนามิ"