ชาวพิคท์
ชาวพิคท์ หรือ ชาวพิคทาเวีย (อังกฤษ: Picts หรือ Pictavia) เป็นสหพันธ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณที่ต่อมาเป็นทางด้านตะวันออกและทางเตอนเหนือของสกอตแลนด์ ที่รุ่งเรืองระหว่างการพิชิตบริเตนโดยโรมันมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 10 ชาวพิคท์มีถิ่นฐานอยู่ทางตอนเหนือของแม่น้ำฟอร์ธและแม่น้ำไคลด์ และพูดภาษาพิคท์ที่พูดโดยชาวบริทัน (Britons) ทางตอนใต้ด้วย เชื่อกันว่าชาวพิคท์สืบเชื้อสายมาจากชาวคาเลโดเนียและชนกลุ่มอื่นที่ได้ชื่อมาจากนักประวัติศาสตร์ชาวโรมัน หรือที่พบในแผนที่โลกของทอเลมี ต่อมาชาวพิคท์ก็ถูกกลืนเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเกล Dál Riata เพื่อก่อตั้ง ราชอาณาจักรอัลบา (Kingdom of Alba) อัลบาขยายตัวไปกลืนดินแดนบริเตนและเบอร์นิเซีย เมื่อมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 11 ชาวพิคท์ก็กลืนไปเป็นกลุ่มชนผสมของทางเหนือของบริเตนที่มาเรียกกันว่า "ชาวสกอต"
อ้างอิง
แก้- Forsyth, Katherine, "Origins: Scotland to 1100" in Jenny Wormald (ed.), Scotland: A History, Oxford UP, Oxford, 2005. ISBN 0-19-820615-1
ดูเพิ่ม
แก้แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Glasgow University ePrints server, including Katherine Forsyth's
- CELT: Corpus of Electronic Texts at University College Cork
- The Corpus of Electronic Texts includes the Annals of Ulster, Tigernach, the Four Masters and Innisfallen, the Chronicon Scotorum, the Lebor Bretnach, Genealogies, and various Saints' Lives. Most are translated into English, or translations are in progress
- The Pictish Chronicle
- Scotland Royalty เก็บถาวร 2020-03-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- The Chronicle of the Kings of Alba เก็บถาวร 2007-06-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Annals of Clonmacnoise at Cornell
- Bede's Ecclesiastical History and its Continuation (pdf), at CCEL, translated by A.M. Sellar.
- Annales Cambriae (translated) เก็บถาวร 2010-12-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน at the Internet Medieval Sourcebook เก็บถาวร 2000-10-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- Proceedings เก็บถาวร 2008-06-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน of the Society of Antiquaries of Scotland (PSAS) through 1999 (pdf).
- Tarbat Discovery Programme with reports on excavations at Portmahomack.
- SPNS เก็บถาวร 2008-03-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน the Scottish Place-Name Society (Comann Ainmean-Áite na h-Alba), including commentary on and extracts from Watson's The History of the Celtic Place-names of Scotland.