ผู้ใช้:Thitut/ทดลองเขียน/พาร์เธนอน

พาร์เธนอน (/ˈpɑːrθəˌnɒn, -nən/; กรีกโบราณ: Παρθενών, Parthenṓn, [par.tʰe.nɔ̌ːn]; กรีกใหม่: Παρθενώνας, Parthenónas, [parθeˈnonas]) เป็นวิหารโบราณ[1][2] บนอะโครโพลิสแห่งเอเธนส์, ประเทศกรีซ สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่เทพีอะธีนาซึ่งเป็นองค์อุปถัมภ์แห่งชาวเอเธนส์ การก่อสร้างเริ่มต้นขึ้น 447 ปีก่อนคริสต์ศักราช ณ จุดสูงสุดทางอำนาจของสันนิบาตดีเลียน พาร์เธนอนสร้างเสร็จเมื่อ 432 ปีก่อนคริสต์ศักราช ถึงกระนั้น การตกแต่งอาคารดำเนินต่อไปจนถึง 432 ปีก่อนคริสต์ศักราช มันเป็นอาคารจากสมัยกรีกคลาสสิกที่มีความสำคัญมากที่สุดที่ยังหลงเหลืออยู่ และโดยทั่วไปถูกพิจารณาว่าเป็นการใช้เสาแบบดอริกที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด [3][4]

ในช่วงเวลาหนึ่ง พาร์เธนอนทำหน้าที่เป็นคลังสมบัติส่วนกลางของสันนิบาตดีเลียน ซึ่งต่อมากลายเป็นอาณาจักรเอเธนส์ ในทศวรรษสุดท้ายของศตวรรษที่ 6 พาร์เธนอนถูกเปลี่ยนเป็นโบสถ์คริสต์อุทิศแด่พระแม่มารีย์ ภายหลังการยึดครองโดยอาณาจักรออตโตมัน อาคารพาร์เธนอนถูกเปลี่ยนเป็นมัสยิดในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 1460 ในวันที่ 26 กันยายน ค.ศ.1687 กองเครื่องกระสุนของออตโตมันซึ่งถูกเก็บไว้ภายในพาร์เธนอนถูกจุดระเบิดจากการกระหน่ำยิงของสาธารณรัฐเวนิสในยุทธการปิดล้อมอโครโปลิส แรงระเบิดนั้นสร้างความเสียหายแก่โครงสร้างและประติมากรรมของพาร์เธนอนอย่างรุนแรง ระหว่าง ค.ศ. 1800 ถึง 1803[5] เอิร์ลที่ 7 แห่งเอลกิน ได้ขนย้ายประติมากรรมที่ยังคงเหลืออยู่ออกจากพาร์เธนอน ซึ่งปัจจุบันรู้จักในนามประติมากรรมหินอ่อนเอลกิน การขนย้ายนั้นถูกรายงานว่าได้รับอนุญาตจากอาณาจักรออตโตมัน[6]

ตัวพาร์เธนอนเองถูกสร้างแทนที่วิหารเทพีอะธีนาเดิม ซึ่งนักประวัติศาสตร์เรียกว่าวิหารก่อนพาร์เธนอนหรือพาร์เธนอนเก่า ซึ่งถูกทำลายลงในการโจมตีโดยอาณาจักรเปอร์เซียใน 480 ปีก่อนคริสต์ศักราช พาร์เธนอน ดังเช่นวิหารกรีกส่วนใหญ่ มีหน้าที่เป็นคลังเก็บสมบัติของเมือง[7][8] Its decorative sculptures are considered some of the high points of Greek art. The Parthenon is regarded as an enduring symbol of Ancient Greece, democracy and Western civilization,[9] and one of the world's greatest cultural monuments.[10] To the Athenians who built it, the Parthenon, and other Periclean monuments of the Acropolis, were seen fundamentally as a celebration of Hellenic victory over the Persian invaders and as a thanksgiving to the gods for that victory.[11] Since 1975, numerous large-scale restoration projects have been undertaken to ensure the structural stability of the temple.[12]

  1. Barletta, Barbara A. (2005). "The Architecture and Architects of the Classical Parthenon". ใน Jenifer Neils (บ.ก.). The Parthenon: From Antiquity to the Present. Cambridge University Press. p. 67. ISBN 978-0-521-82093-6. The Parthenon (Plate 1, Fig. 17) is probably the most celebrated of all Greek temples.
  2. Hambidge, Jay; Yale University. Rutherford Trowbridge Memorial Publication Fund (1924). The Parthenon and other Greek temples: their dynamic symmetry. Yale university press.
  3. "Classical Greek Architecture". courses.lumenlearning.com. Boundless. สืบค้นเมื่อ 11 November 2020.
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ :JN
  5. "Lord Elgin and the Parthenon Sculptures". British Museum. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 February 2013.
  6. "How the Parthenon Lost Its Marbles". History Magazine. 28 March 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 April 2019. สืบค้นเมื่อ 17 April 2019.
  7. Robertson, Miriam (1981). A Shorter History of Greek Art. Cambridge: Cambridge University Press. p. 90. ISBN 978-0-521-28084-6.
  8. Davison, Claire Cullen; Lundgreen, Birte (2009). Pheidias:The Sculptures and Ancient Sources. Vol. 105. London: Institute of Classical Studies, University of London. p. 209. ISBN 978-1-905670-21-5. สืบค้นเมื่อ 10 September 2017.
  9. Beard, Mary (2010). The Parthenon. Profile Books. p. 118. ISBN 978-1-84765-063-4.
  10. Garfield., Leanna (2 June 2017). "The 22 most beautiful buildings in the world, according to architects". Business Insider. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 June 2017.
  11. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ :0
  12. "Reasons of Interventions". ysma.gr.