ผู้ใช้:Suwanun/กระบะทราย

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยและประเทศสิงคโปร์

1.ที่มาและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยและประเทศสิงคโปร์ แก้

ประชาคมอาเซียนได้ก่อตั้งเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 แรกเริ่มประกอบด้วย 5 ประเทศในเขตภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ถือเป็นองค์กรความร่วมมือระดับภูมิภาค มีวัตถุประสงค์ร่วมกันเพื่อส่งเริมด้านการเมืองและความมั่นคง การเปิดเสรีขยายตัวทางด้านการค้าและการลงทุน ส่งเสริมด้านการท่องเที่ยว เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศสมาชิก ในเวลาต่อมาภายหลังยุคสงครามเย็น อาเซียนได้สร้างสัมพันธภาพร่วมกับประเทศอื่นๆในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีก 5 ประเทศ ซึ่งประกอบด้วย บรูไน เวียดนาม พม่า กัมพูชา และลาว ไทยและสิงคโปร์ได้มีการพัฒนาการเป็นประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ.2553 ร่วมกัน ทั้งสองประเทศได้มีการแลกเปลี่ยนการเยือนในระดับต่างๆ อย่างสม่าเสมอ โดยทั้งสองมีกลไกทวิภาคี 4 หลักสาคัญคือ 1)การประชุมอย่างไม่เป็นทางการระหว่างนายกรัฐมนตรี (Prime Ministerial) 2)โครงการแลกเปลี่ยนข้าราชการพลเรือนระหว่างไทยกับสิงคโปร์ (Civil service Exchange Programmer CSEP) 3)การประชุม Singapore-Thailand Enhanced Economic Relation(STEER)มีกระทรวงพาณิชย์เป็นผู้ประสานงาน 4)ความร่วมมือด้านความมั่นคงในกรอบ(CSEP) และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับสิงคโปร์ ได้มีความใกล้ชิดและพัฒนาบนพื้นฐานของการมีผลประโยชน์ร่วมกันรอบด้าน ดังต่อไปนี้

2.ด้านการเมืองและความมั่นคง แก้

ทั้งสองฝ่ายให้ความสาคัญในการส่งเสริมความร่วมมือเพื่อพัฒนาและสนับสนุนการเป็นประชาคมอาเซียนทั้งสองฝ่ายมสัมพันธภาพที่ดีต่อกันและไม่มีปมความขัดแย้งระหว่างกันในอดีตที่ผ่านมา ด้านการทหารไทยและสิงคโปร์ได้มีการแลกเปลี่ยนการเยือนระหว่างผู้บังคับบัญชาระดับสูงสุดอย่างสม่าเสมอ ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารร่วมด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศระหว่างกองทัพ ข้อตกลงทวิภาคีด้านการทหารที่สา คัญ ได้แก่ การตกลงเรื่องการฝึกของกองทัพสิงคโปร์ในไทย ฉบับที่ 8 ปี พ.ศ. 2550 - 2553 (ลงนามเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555) และบันทึกความเข้าใจว่าด้วยการสนับสนุน ด้านการฝึกและการส่งกา ลังบา รุงระหว่างกองทัพอากาศสิงคโปร์กับไทย ซึ่งไทยอนุญาตให้สิงคโปร์ใช้พื้นที่ ในจังหวัดกาญจนบุรีเพื่อฝึกรบภาคพื้นดิน และที่สนามบินกองบินที่ 23 จังหวัดอุดรธานี ในการฝึกรบทางอากาศ (ลงนามเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547) มีการฝึกซ้อมการรบร่วมกัน และมีการ แลกเปลี่ยนการฝึกสอนบุคลากร <ref>http://aec.pcru.ac.th/content/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0 %B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8% 98%E0%B9%8C%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0 %B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B1 %E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0% B8%93%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%87 %E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%8C > , <ref>http://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=910&filename=index>

3.ด้านการค้าและการลงทุน แก้

การค้า(การส่งออก-นาเข้า) ในปี พ.ศ.2546 ไทยเป็นคู่ค้า ดับการค้าที่ 8 ของสิงคโปร์ โดยรองจากประเทศมาเลเซีย สหรัฐอเมริกา สหภาพ ยุโรป ญี่ปุ่น จีน ฮ่องกง และไต้หวัน โดยที่สิงคโปร์เป็นคู่ลา ดับการค้าที่ 4 ของไทย รองจากประเทศญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป ในปี พ.ศ. 2550 ไทยมีการส่งสินค้าออกไปสิงคโปร์มีมูลค่ารวม 9,544.02 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และมีการ นาเข้าสินค้าจากสิงคโปร์มีมูลค่ารวม 6,281.52 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยการส่งออก-นาเข้ามีมูลค่าการค้ารวม 15,825.54 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2549 ร้อยละ 12.8 โดยที่ไทยเกินดุลการค้ามูลค่า 2,784.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี พ.ศ.2551ไทยส่งสินค้าออกไปสิงคโปร์ มีมูลค่ารวม10,114.67 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และมีการนาเข้า สินค้าจากสิงคโปร์มีมูลค่ารวม 7,080.28 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยการส่งออก-นาเข้ามีมูลค่าการค้ารวม 17,194.95 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 16 เมื่อเทียบกับช่วงระยะเวลาเดียวกันของปี ที่ผ่านมา โดยที่ ไทยเกินดุลการค้ากับสิงคโปร์ 3,034.39 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี พ.ศ.2552ไทยส่งสินค้าออกไปสิงคโปร์ มีมูลค่ารวม 7,574.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และมีการนาเข้าสินค้า จากสิงคโปร์มีมูลค่ารวม 5,724.0 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยการส่งออก-นาเข้ามีมูลค่าการค้ารวม 13,298.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 22.66 เมื่อเทียบกับช่วงระยะเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยที่ไทยเกินดุล การค้ากับสิงคโปร์ 1,850.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี พ.ศ. 2553 (เดือนมกราคม-เดือนเมษายน)ไทยส่งสินค้าออกไปสิงคโปร์ มีมูลค่ารวม 2,639.9 ล้าน เหรียญสหรัฐฯและมีการนาเข้าสินค้าจากสิงคโปร์มีมูลค่ารวม 2,167.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยการส่งออก- นา เข้า มีมูลค่าการค้ารวม 4,807.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.10 เมื่อเทียบกับช่วงระยะเวลา เดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยที่ไทยเกินดุลการค้ากับสิงคโปร์ 472.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ <ref>https://nusmobile.wordpress.com/2008/04/19/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E 0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8 %99%E0%B8%98%E0%B9%8C-%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2- %E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B 8%A3/> สินค้าสาคัญทไี่ ทยส่งออกไปสิงคโปร์ คือ น้า มันสา เร็จรูป, แผนวงจรไฟฟ้ า,เครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบ-อุปกรณ์,เครื่องรับวิทยุ-ส่วนประกอบ,มอเตอร์-เครื่องกา เนิดไฟฟ้ า,ส่วนประกอบอากาศยาน- อุปกรณ์การบิน,อุปกรณ์ตัวนา ทรานซิสเตอร์-ไดโอต,เหล็ก เหล็กกล้า-ผลิตภัณฑ์,รถยนต์ ส่วนประกอบ- อุปกรณ์ และเครื่องใช้ไฟฟ้า-ส่วนประกอบอื่นๆ สินค้าสาคัญทไี่ ทยนาเข้าจากสิงคโปร์ คือ น้า มันสา เร็จรูป,ผลิตภัณฑ์พลาสติก,กระดาษ-กระดาษแข็ง, เครื่องใช้ไฟฟ้ า,ผลิตภัณฑ์โลหะ,เครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรรม,เคมีภัณฑ์,แผนวงจรไฟฟ้ า,เครื่องจักรไฟฟ้ า- ส่วนประกอบอื่นๆ <ref>https://www.gotoknow.org/posts/181228> , <ref>http://oknation.nationtv.tv/blog/tontong/2009/01/14/entry-1> การลงทุน จากสถิติของสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนของประเทศไทย(BOI) พบว่าสิงคโปร์เป็น ประเทศหนึ่งที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทยสูงมาก กิจการของสิงคโปร์ที่เข้ามาขอรับการส่งเสริมการลงทุน ในช่วงครึ่งแรกปี พ.ศ. 2550 ถือว่าสูงที่สุดในอาเซียน ทั้งจา นวนโครงการและเงินลงทุน และสูงเป็นอันดับที่ 2 เมื่อรวมทุกประเทศที่เข้ามาขอรับการลงทุนในไทย เป็นรองเพียงแค่ญี่ปุ่น โดยมีจา นวน 40 โครงการ เงิน ลงทุน 10.6 พันล้านบาท ขณะที่กิจการที่ได้รับอนุมัติส่งเสริมการลงทุน มีจา นวน 31 โครงการ เงินลงทุนทั้งหมด 7.4 พันล้านบาท ทั้งนี้ เป็นโครงการขนาดกลางที่มีมูลค่าในการลงทุน 100-499 ล้านบาท มากที่สุด คือ 12 โครงการ มูลค่า ลงทุนทั้งหมด 2.9 พันล้านบาท ขณะที่โครงการขนาดใหญ่ที่มีมูลค่าการลงทุนมากกว่า 1 พันล้านบาท เป็น โครงการขยายทั้งหมด มี 3 โครงการ มูลค่าการลงทุนทั้งหมด 7.4 พันล้านบาท ได้แก่ - โครงการขยายการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ของบริษัท Cal Comp Electronics (Thailand) PCL. มูลค่า เงินลงทุนทั้งหมด 1,470 ล้านบาท ส่งออกร้อยละ 95 กา ลังการผลิตมีจา นวน 23.5 ล้านชิ้นต่อปี - โครงการขยายการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ของบริษัท SVI PCL. มูลค่าเงินลงทุนทั้งหมด 1,195 ล้าน บาท มีการส่งออกทั้งหมด กา ลังการผลิตจา นวน 4.4 ล้านชิ้นต่อปี โดยสาขาที่สิงคโปร์ให้ความสนใจในการลงทุนอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ภาคบริการ อิเล็กทรอนิกส์และ ชิ้นส่วน และเครื่องจักรและผลิตภัณฑ์โลหะ และโครงการลงทุนส่วนใหญ่จะอยู่ในเขต 1 และ 2 ขณะที่ อุตสาหกรรมเบา อาทิ สิ่งทอ นักลงทุนสิงคโปร์ให้ความสนใจน้อยมาก เช่นเดียวกับเหมืองแร่และเซรามิค <ref>http://www.boi.go.th/thai/asean/Singapore/capt2_p4n.html>

4.ด้านการเงิน แก้

ธนาคารของสิงคโปร์ ได้ขยายสาขามาดา เนินธุรกรรมการเงินในไทยทั้งหมด 4 ธนาคาร ได้แก่ 1. Development Bank of Singapore (DBS) 2.Overseas Chinese Banking Corporation (OCBC) 3.United Overseas Bank (UOB) 4. Overseas Union Bank (OUB) โดยดา เนินการภายใต้กรอบกิจการวิเทศธนกิจ ( BIBF) กิจการวิเทศธนกิจมี 2 ประเภท โดยสรุป คือ 1) กิจการวิเทศธนกิจเพื่อการให้กู้ยืมในต่างประเทศ หมายถึง การรับฝากหรือกู้ยืมเงินตราต่างประเทศจาก ทั้งในประเทศและต่างประเทศ หรือการรับฝากหรือกู้ยืมเงินบาทจากต่างประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ จะนาไปให้กู้ยืมเป็นเงินตราต่างประเทศในต่างประเทศหรือแก่กิจการวิเทศธนกิจอื่น 2) กิจการวิเทศธนกิจเพื่อการให้กู้ยืมในประเทศ หมายถึง การรับฝากหรือการกู้ยืมเงินตราต่างประเทศจาก ต่างประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจะนา ไปให้กู้ยืมเป็นเงินตราต่างประเทศในประเทศไทยโดยมีการเบิก ถอนเงินกู้ยืมแต่ละครั้งไม่ต่า กว่าจา นวนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกา หนด โดยประกาศในราชกิจจา นุเบกษา <ref>http://www.fpo.go.th/s- I/Source/word/Word.php?Language=Thai&BeginRec=1044&NumRecShow=8&sort=4&search=> หลังจากที่ทั้ง 2 ธนาคารได้รับอนุญาตตามความตกลงพิเศษในการแลกเปลี่ยนสาขาธนาคารเพิ่มเติม ระหว่าง กระทรวงการคลังของสองประเทศ นอกจากนี้ ในช่วงวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ ธนาคาร UOB ได้ซื้อหุ้น ธนาคารรัตนสินเป็นจา นวนร้อยละ 75 และเข้ามาบริหารงานอย่างเป็นทางการ รวมทั้งเปลี่ยนชื่อธนาคารเป็น ธนาคาร UOB รัตนสิน จา กัด ธนาคารของไทย 3 แห่ง ได้มีการขยายสาขาและเปิดบริการที่สิงคโปร์ คือ 1.ธนาคารกรุงเทพ 2.ธนาคารกรุงไทย 3.ธนาคารไทยพาณิชย์ อย่างไรก็ตาม มีเพียงธนาคารเดียวที่ได้รับอนุญาต ให้ดา เนินกิจการธนาคารอย่างเต็มรูปแบบคือธนาคาร กรุงเทพ ส่วนธนาคารไทยอีก 2 แห่ง มีขอบเขตการประกอบกิจการเพียงการให้บริการกู้ยืมระหว่างประเทศ ในลักษณะของ off-shore banking หรือการธนาคารนอกประเทศนั่นเอง <ref>https://www.gotoknow.org/posts/181228>

5.ด้านการท่องเที่ยว แก้

นักท่องเที่ยวต่างชาติชาวสิงคโปร์ถือว่าเป็นนักท่องเที่ยวระดับแนวหน้าที่นิยมเดินทางมาเที่ยวประเทศ ไทย โดยจัดอยู่ในอันดับ 5 รองจาก ประเทศญี่ปุ่น มาเลเซีย ไต้หวัน และจีน อย่างไรก็ตาม นักท่องเที่ยวชาว สิงคโปร์ที่เดินทางมาไทยแทบไม่เพิ่มขึ้นเลยในรอบปี ที่ผ่านมา ประมาณว่าจะมีจา นวนราว 656,000 คน ใกล้เคียงกับปี พ.ศ. 2543 เพราะสภาพเศรษฐกิจสิงคโปร์ย่า แย่ลง คาดว่าเมื่อเศรษฐกิจสิงคโปร์มีแนวโน้มดี ขึ้นในปี 2545 ประเทศไทยน่าจะเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ชาวสิงคโปร์สนใจมาเที่ยวชมมากขึ้น ประมาณได้ว่า นักท่องเที่ยวชาวสิงคโปร์จะทา รายได้ด้านการท่องเที่ยวให้แก่ไทยไม่ต่า กว่า 14,000 ล้านบาทต่อปี <ref>https://www.kasikornresearch.com/TH/KEconAnalysis/ Pages/ViewSummary.aspx?docid=3356> โดยในปลายเดือนธันวาคม พ.ศ.2547 ไทยเกิดเหตุการณ์ภัยพิบัติคลื่นยักษ์สึนามิ ทา ให้นักท่องเที่ยวต่างชาติ ชะลอเดินทางมาไทยช่วงครึ่งปี แรกปีพ.ศ.2548 (มกราคม-มิถุนายน) จนจา นวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ทั้งหมดที่จะเดินทางมาเที่ยวในไทยลดลงร้อยละ6 จาก 5.51 ล้านคน ในช่วงเดียวกันของปี พ.ศ. 2547 เป็น 5.18 ล้านคน แต่มีจา นวนนักท่องเที่ยวจากสิงคโปร์ที่เดินทางมาไทยช่วงดังกล่าว กลับเพิ่มขึ้นร้อยละ8.3 เป็น 366,693 คน จาก 338,577 คน ในช่วงเดียวกันปี พ.ศ.2547 พบว่ามีจา นวนนักท่องเที่ยวจากสิงคโปร์เดินทาง มาไทยมากเป็นอันดับที่ 2 ในแต่ละประเทศในอาเซียน คิดเป็นร้อยละ 25 ของจา นวนนักท่องเที่ยวอาเซียน ทั้งหมดที่เดินทางมาไทย ในช่วงครึ่งปี แรกปี พ.ศ.2547 การที่มีนักท่องเที่ยวจากสิงคโปร์เดินทางมาไทย เพิ่มขึ้น เนื่องจากใช้ระยะเวลาเดินทางไม่นาน ราคาสินค้าและค่าใช้จ่ายท่องเที่ยวในไทยราคาไม่สูงจึงมี จา นวนนักท่องเที่ยวชาวสิงคโปร์เดินทางมาเพิ่มขึ้น <ref>https://nusmobile.wordpress.com/2008/04/19/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E 0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8 %99%E0%B8%98%E0%B9%8C-%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2- %E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B 8%A3/>

6.ด้านการทูต แก้

ไทยและสิงคโปร์ได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกันเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ.2508 ความสัมพันธ์ได้ดา เนินมาตลอด 40 ปี และได้พัฒนาไปเป็นลักษณะ หุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ ในการ ดา เนินการเชิงรุกในภูมิภาคและระดับระหว่างประเทศ ไทยและสิงคโปร์มีสานสัมพันธ์ที่ดีงามและมีจุดแข็ง มีศักยภาพที่เอื้อประโยชน์ต่อกันเป็นอย่างดี ไทยมีทรัพยากรธรรมชาติ มีแรงงานจา นวนมากและมีพื้นที่กว้าง ใหญ่ ส่วนสิงคโปร์ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติและพื้นที่น้อย แต่จะมีความก้าวหน้าทางด้านทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมระดับสูง จึงมีการนา จุดแข็งทั้งสองประเทศมาใช้ร่วมกันจนนา ไปสู่การ ส่งเสริมความสัมพันธ์และการพัฒนาร่วมกันที่ยั่งยืน

7.ด้านสังคมวัฒนธรรมและการศึกษา แก้

ด้านสังคมวัฒนธรรม มีการจัดทา โครงการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานข้าราชการพลเรือนไทยกับสิงคโปร์ (Thailand- Singapore Civil Service Exchange Programme-CSEP) ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2541 มีวัตถุประสงค์ร่วมกันเพื่อ ส่งเสริมให้หน่วยราชการไทยและสิงคโปร์มีโอกาสพบปะและสร้างความคุ้นเคยระหว่างกัน ซึ่งจะช่วย ส่งเสริมความใกล้ชิดและความเป็น “หุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์” ระหว่างกันมากขึ้นจนนา ไปสู่การขยายความ ร่วมมือที่ดีต่อไป <ref>http://oknation.nationtv.tv/blog/tontong/2009/01/14/entry-1> ด้านการศึกษา สา หรับความร่วมมือด้านการศึกษานั้น รัฐบาลทั้งสองประเทศได้ให้ความสา คัญเป็นอย่างมากเช่นเดียวกัน โดยทั้งสองฝ่ ายมีกิจกรรม ความร่วมมือมากมายเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะโรงเรียนคู่พัฒนา (Partner Schools) ซึ่งปัจจุบันมีอยู่ฝ่ ายละ 10 แห่ง ในอนาคตอยากจะให้เพิ่มขึ้นอีก ซึ่งอาจจะเป็นฝ่ ายละ 5 แห่ง นอกจากนี้ยังมี เรื่องการพัฒนาอาชีวศึกษา โดยกระทรวงศึกษาธิการต้องการกระตุ้นให้นักเรียนหันมาศึกษาด้าน อาชีวศึกษามากขึ้น ซึ่งการเรียนอาชีวศึกษาในปัจจุบันได้มีความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับภาค อุตสาหกรรมในลักษณะ Twin Partner และเห็นว่าสิงคโปร์มีความก้าวหน้าด้านธุรกิจและอุตสาหกรรม จึง ต้องการแสวงหาความร่วมมือกับสิงคโปร์ร่วมมือช่วยเหลือด้านการอาชีวศึกษาของไทยอย่างใกล้ชิด <ref>http://www.bic.moe.go.th/newth/index.php?option=com_k2&view=item&id=4375:ambassador -of-the-republic-of-singapore-13-11-2557&Itemid=269>