ผู้ใช้:Slentee/ทดลองเขียน/ผลกระทบจากพายุหมุนเขตร้อน

ต้นฉบับ : https://en.wikipedia.org/wiki/Effects_of_tropical_cyclones


แผนภูมิรูปวงกลมแสดงอุบัติเหตุจากพายุหมุนเขตร้อนในอเมริกาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513–2542

ผลกระทบหลักของพายุหมุนเขตร้อนประกอบด้วย ฝนตกหนัก ลมแรง น้ำขึ้นจากพายุขนาดใหญ่บริเวณใกล้การพัดขึ้นฝั่ง และ ทอร์นาโด การทำลายล้างจากพายุหมุนเขตร้อนจะแตกต่างกันไปโดยหลัก ๆ แล้วด้วยความรุนแรง ขนาด และตำหน่งของพายุหมุนเขตร้อน พายุหมุนเขตร้อนเป็นตัวทำลายชั้นเรือนยอดของป่าไม้ รวมไปถึงเป็นตัวเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์บริเวณใกล้ชายฝั่งทะเลด้วย โดยการเคลื่อนย้ายและเปลี่ยนรูปร่างของเนินทรายและก่อให้เกิดการการกัดเซาะตามแนวชายฝั่งทะเล แม้ในขณะอยู่บนแผ่นดิน ฝนที่ตกหนักอาจทำให้เกิดดินและโคลนถล่มในบริเวณภูเขาได้ ผลกระทบเหล่านี้สามารถรับรู้ได้ตลอดเวลา ผ่านการศึกษาความเข้มข้นไอโซโทปของออกซิเจน-18 ที่อยู่ภายในถ้ำในจุดใกล้เคียงกับเส้นทางเดินของพายุหมุนเขตร้อน หลังจากพายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนตัวผ่านไปแล้ว แต่ความเสียหายจะยังคงดำเนินต่อไป ต้นไม้ที่หักโค่นสามารถปิดขวางถนนและทำให้การกู้ภัย การขนส่งเวชภัณฑ์ล่าช้า หรือทำให้การซ่อมบำรุงสายส่งไฟฟ้า เสาสัญญาณโทรศัพท์ หรือท่อประปาเกิดมีอุปสรรค ซึ่งอาจทำให้ชีวิตตกอยู่ในความเสี่ยงได้เป็นเวลาหลายวันถึงหลายเดือน แหล่งน้ำนิ่งที่ขังอยู่สามารถเป็นแหล่งแพร่กระจายโรคได้ และโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งและการสื่อสารอาจถูกทำลายลง ซึ่งจะขัดขวางการทำความสะอาดและการกู้ภัยได้ ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตเกือบสองล้านคนจากพายุหมุนเขตร้อน ขณะเดียวกัน พายุหมุนเขตร้อนก็มีประโยชน์เช่นกัน โดยพายุหมุนเขตร้อนสามารถนำฝนไปยังพื้นที่แห้งแล้ง และเคลื่อนย้ายความร้อนจากเขตร้อนไปทางขั้วโลกได้

ภาวะภัย PST ย่อมาจาก Primary (ปฐมภูมิ), Secondary (ทุติยภูมิ) และ Tertiary (ตติยภูมิ) ตามลำดับ ภาวะภัยปฐมภูมิประกอบด้วยแรงลมระดับทำลายล้าง ซากปรักหักพัง และน้ำขึ้นจากพายุ ภาวะภัยทุติยภูมิประกอบด้วยอุทกภัยและอัคคีภัย ส่วนภาวะภัยตติยภูมิประกอบด้วยราคาอาหารและสิ่งของจำเป็นอื่น ๆ ที่พุ่งขึ้นอย่างรวดเร็ว รวมไปถึงภาวะภัยระยะยาว เช่น โรคทางน้ำ เป็นต้น

ในทะเล แก้

พายุหมุนเขตร้อนที่เจริญเติมที่แล้วสามารถปล่อยความร้อนออกมาในอัตราที่มากถึง 6x1014 วัตต์[1] พายุหมุนเขตร้อนในทะเลเปิดสามารถสร้างคลื่นขนาดใหญ่ ฝนตกหนัก และ ลมแรง ซึ่งอาจไปขัดขวางเส้นทางเดินเรือสากล และอาจทำให้เกิดการอับปางของเรือได้[2]

การล่าอาณานิคมในอเมริกาเหนือ แก้

การเดินเรือ แก้

เมื่อพัดขึ้นฝั่ง แก้

ลมแรง แก้

น้ำขึ้นจากพายุ แก้

ฝนตกหนัก แก้

ทอร์นาโด แก้

ผู้เสียชีวิต แก้

ประเทศไทย แก้

(หาข้อมูล ผสชว จากพายุหมุนเขตร้อนที่พัดเข้าประเทศไทย)

สหรัฐ แก้

การบูรณะและฟื้นฟูประชากร แก้

ผลกระทบกับทรัพยากรธรรมชาติ แก้

ธรณีสัณฐานวิทยา แก้

แนวสันบริเวณชายหาด แก้

หินงอกในถ้ำหินปูน แก้

ภูมิทัศน์ แก้

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. National Oceanic & Atmospheric Administration (NOAA) (August 2000). "NOAA Question of the Month: How much energy does a hurricane release?". NOAA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-02-21. สืบค้นเมื่อ 2006-03-31.
  2. David Roth and Hugh Cobb (2001). "Eighteenth Century Virginia Hurricanes". NOAA. สืบค้นเมื่อ 2007-02-24.