รายชื่อพายุเฮอริเคนแอตแลนติกที่ถูกถอนชื่อ

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

นี่คือรายการรวบรวมชื่อของพายุหมุนเขตร้อน (พายุโซนร้อน หรือ พายุเฮอริเคน) ซึ่งถูกถอนออกจากรายการวนใช้อย่างถาวรในภูมิภาคอเมริกาเหนือ

เส้นทางเดินพายุสะสมของพายุเฮอริเคนแอตแลนติกที่ถูกถอนชื่อจนถึงปี พ.ศ. 2560

การตั้งชื่อพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ปัจจุบันอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของคณะกรรมการเฮอริเคนขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก กลุ่มของชื่อนี้ถูกแบ่งออกเป็นหกชุดเรียงตามตัวอักษรภาษาอังกฤษ โดยจะถูกนำมาใช้ปีละชุด ทำให้แต่ละชื่อจะถูกวนใช้ในทุก ๆ หกปี อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่พายุสร้างความเสียหายอย่างมากหรือเป็นผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ชื่อของพายุลูกนั้นจะถูกถอนออกและแทนด้วยชื่อใหม่ที่ใช้ตัวอักษรนำตัวเดียวกัน การพิจารณาว่าจะถอนชื่อของพายุใดในฤดูกาลก็ตาม จะเป็นวาระการพิจารณาในการประชุมของคณะกรรมการเฮอริเคน ซึ่งถูกจัดขึ้นในทุก ๆ ฤดูใบไม้ผลิ

การถอนชื่อพายุเริ่มต้นโดยสำนักสภาพอากาศสหรัฐในปี พ.ศ. 2498 หลังจากที่พายุเฮอริเคนขนาดใหญ่แครอล, เอ็ดนา และเฮเซลพัดเข้าที่ตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐในช่วงปีก่อนหน้า ในขั้นต้น ชื่อดังกล่าวถูกถอนไปเป็นระยะเวลา 10 ปี เมื่อพ้นระยะเวลาดังกล่าวแล้วจึงจะนำชื่อกลับมาใช้อีกครั้ง อย่างไรก็ตาม เมื่อ พ.ศ. 2512 มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายใหม่โดยให้ชื่อที่ถูกถอนไปนั้นถูกถอนอย่างถาวร ต่อมาในปี พ.ศ. 2520 องค์การบริหารบรรยากาศและมหาสมุทรแห่งชาติสหรัฐ (NOAA) ได้เข้ามารับช่วงต่อการควบคุมการตั้งชื่อให้คณะกรรมการเฮอริเคนแทน

นับตั้งแต่มีการเริ่มต้นการตั้งชื่อให้กับพายุอย่างเป็นทางการในฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2490 โดยเฉลี่ยแล้วจะมีชื่อพายุถูกถอนปีละหนึ่งลูก แม้ว่าหลายฤดูกาลจะไม่มีชื่อพายุถูกถอน (ล่าสุดในปี พ.ศ. 2557) ก็ตาม ในบรรดารายชื่อพายุที่ถูกถอน พายุที่ทำให้มีจำนวนผู้เสียชีวิตมากที่สุดคือ พายุเฮอริเคนมิทช์ ซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 10,000 คนเมื่อมันส่งผลกระทบกับอเมริกากลางในช่วงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2541 ส่วนพายุที่ทำให้มีความเสียหายตีเป็นเงินมากที่สุดคือ พายุเฮอริเคนแคทรีนา ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2548 และพายุเฮอริเคนฮาร์วีย์ ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2560 พายุแต่ละลูกดังกล่าวนั้นส่งผลกระทบกับฝั่งทะเลด้านอ่าวของสหรัฐ เป็นผลให้มีความเสียหายเกิดขึ้น 1.25 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งความเสียหายส่วนมากเป็นผลมาจากอุทกภัย[nb 1] ชื่อของพายุที่ถูกถอนล่าสุด ได้แก่ ฟลอเรนซ์ และ ไมเคิล

ชื่อที่ถูกถอนในช่วงพุทธทศวรรษ 2490 แก้

ระหว่าง พ.ศ. 2497 ถึง พ.ศ. 2499 มีชื่อของพายุที่ถูกถอนจำนวน 7 ชื่อ ซึ่งเดิมชื่อเหล่านี้มีกำหนดถอนชั่วคราวเป็นเวลา 10 ปี แต่ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นการถอนอย่างถาวรในปี พ.ศ. 2512 โดยในปี พ.ศ. 2499 ไม่มีชื่อที่ถูกถอน[1][2][3] โดยรวมแล้ว พายุที่ถูกถอนชื่อเหล่านี้ทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 1,901 คน และสร้างความเสียหายมากกว่า &00000018928000000000001.89 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ พายุเฮอริเคนที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดคือ พายุเฮอริเคนเจเน็ท ซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 1,023 คน ขณะที่พายุเฮอริเคนที่สร้างความเสียหายมากที่สุดคือ พายุเฮอริเคนไดแอน ซึ่งสร้างความเสียหาย 831 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

ชื่อ วันที่พายุมีกำลัง ความรุนแรงสูงสุด ความเร็วลมพัดต่อเนื่อง ความกดอากาศ พื้นที่ผลกระทบ ผู้เสียชีวิต ความเสียหาย
(USD)
อ้างอิง
แครอล
(Carol)
25 สิงหาคม – 1 กันยายน 2497 พายุเฮอริเคนระดับ 3 115 ไมล์/ชม. (185 กม./ชม.) 955 hPa ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐ, แคนาดา 60 &0000000462000000000000462 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [4][5][6]
เอ็ดนา
(Edna)
5 – 11 กันยายน 2497 พายุเฮอริเคนระดับ 3 125 ไมล์/ชม. (205 กม./ชม.) 943 hPa นิวอิงแลนด์, แอตแลนติกแคนาดา 21 &000000004200000000000042 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [7][8]
เฮเซล
(Hazel)
5 – 15 ตุลาคม 2497 พายุเฮอริเคนระดับ 4 130 ไมล์/ชม. (210 กม./ชม.) 938 hPa แคริบเบียน, ภาคตะวันออกของสหรัฐ, แคนาดา 581 &0000000381500000000000382 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [9][10][11]
คอนนี
(Connie)
3 – 15 สิงหาคม 2498 พายุเฮอริเคนระดับ 4 140 ไมล์/ชม. (220 กม./ชม.) 944 hPa รัฐมิดแอตแลนติก, นิวอิงแลนด์ 25 &000000004000000000000040 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [4][12]
ไดแอน
(Diane)
7 – 21 สิงหาคม 2498 พายุเฮอริเคนระดับ 2 105 ไมล์/ชม. (165 กม./ชม.) 969 hPa รัฐมิดแอตแลนติก, นิวอิงแลนด์ 184 &0000000754700000000000755 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [4][5]
ไอโอนี
(Ione)
10 – 21 กันยายน 2498 พายุเฮอริเคนระดับ 4 140 ไมล์/ชม. (220 กม./ชม.) 938 hPa รัฐนอร์ทแคโรไลนา 7 &000000008800000000000088 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [9][12]
เจเน็ท
(Janet)
21 – 30 กันยายน 2498 พายุเฮอริเคนระดับ 5 175 ไมล์/ชม. (280 กม./ชม.) 914 hPa เลสเซอร์แอนทิลลีส, อเมริกากลาง 1,023 &000000006580000000000065.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [12]
7 ชื่อ อ้างอิง:[nb 2][nb 3] 1,901 &00000018928000000000001.89 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ชื่อที่ถูกถอนในช่วงพุทธทศวรรษ 2500 แก้

 
พายุเฮอริเคนเบ็ตซีเป็นพายุเฮอริเคนลูกแรกที่สร้างความเสียหายมากเกิน 1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ในปี พ.ศ. 2503 มีการพัฒนาชุดรายชื่อแบบใช้หมุนเวียนจำนวนสี่ชุดขึ้น เพื่อหลีกเลี่ยงการสร้างชุดรายชื่อขึ้นใหม่ทุกปี ขณะการถอนชื่อพายุที่สร้างความเสียหายมากเป็นระยะเวลา 10 ปียังคงดำเนินอยู่ต่อไป ซึ่งรวมแล้วในขณะนั้นมีชื่อจำนวน 11 ชื่อที่มีความสำคัญมากพอจะถูกถอนเป็นเวลาหนึ่งทศวรรษ[14][15] ในการประชุมการเตือนเฮอริเคน พ.ศ. 2512 ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติได้ร้องขอให้มีการถอนชื่อ แครอล, เอ็ดนา, เฮเซล และ ไอเนซ เป็นการถาวรเนื่องจากมีความสำคัญต่อการศึกษาวิจัยของชุมชน[14][16] การร้องขอนี้ได้รับการตอบรับ และนำไปสู่แนวปฏิบัติในการถอนชื่อของพายุหมุนเขตร้อนที่มีนัยสำคัญเป็นการถาวรจนถึงปัจจุบัน[14][17] โดยในทศวรรษนี้มีเพียงปี พ.ศ. 2501, 2502 และ 2505 ที่ไม่มีชื่อถูกถอน[nb 2] โดยรวมแล้วมีชื่อพายุถูกถอนจำนวน 10 ชื่อ มีจำนวนผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 9,183 คน และสร้างความเสียหายมากถึง &00000041558500000000004.16 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ชื่อ ชื่อใช้แทน วันที่พายุมีกำลัง ความรุนแรงสูงสุด ความเร็วลมพัดต่อเนื่อง ความกดอากาศ พื้นที่ผลกระทบ ผู้เสียชีวิต ความเสียหาย
(USD)
อ้างอิง
ออเดรย์
(Audrey)
ไม่ทราบ 25 – 29 มิถุนายน 2500 พายุเฮอริเคนระดับ 3 125 ไมล์/ชม. (205 กม./ชม.) 946 hPa ภาคใต้ของสหรัฐ 416 &0000000150000000000000150 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [4][18]
ดอนน่า
(Donna)
ดอร่า
(Dora)
29 สิงหาคม –
14 กันยายน 2503
พายุเฮอริเคนระดับ 4 145 ไมล์/ชม. (230 กม./ชม.) 930 hPa แคริบเบียน, ภาคตะวันออกของสหรัฐ 164 &0000000400000000000000400 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [19]
คาร์ลา
(Carla)
แครอล
(Carol)
3 – 16 กันยายน 2504 พายุเฮอริเคนระดับ 5 175 ไมล์/ชม. (260 กม./ชม.) 931 hPa รัฐเท็กซัส, รัฐลุยเซียนา
ภาคมิดเวสเทิร์นของสหรัฐ
46 &0000000408000000000000408 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [4][9]
แฮทตี
(Hattie)
ไม่ทราบ 27 ตุลาคม –
1 พฤศจิกายน 2504
พายุเฮอริเคนระดับ 5 160 ไมล์/ชม. (260 กม./ชม.) 920 hPa อเมริกากลาง 319 &000000006030000000000060.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [20][21]
ฟลอรา
(Flora)
เฟิร์น
(Fern)
26 กันยายน –
12 ตุลาคม 2506
พายุเฮอริเคนระดับ 4 145 ไมล์/ชม. (230 กม./ชม.) 940 hPa แคริบเบียน 7,193 &0000000528550000000000529 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [22]
คลีโอ
(Cleo)
แคนดี้
(Candy)
20 สิงหาคม –
5 กันยายน 2507
พายุเฮอริเคนระดับ 4 155 ไมล์/ชม. (250 กม./ชม.) 950 hPa แคริบเบียน, ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐ 217 &0000000198000000000000198 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [23]
ดาร่า
(Dora)
ดอลลี
(Dolly)
28 สิงหาคม –
14 กันยายน 2507
พายุเฮอริเคนระดับ 4 140 ไมล์/ชม. (220 กม./ชม.) 942 hPa ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐ 5 &0000000250000000000000250 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [23]
ฮิลดา
(Hilda)
ไม่ทราบ 28 กันยายน –
4 ตุลาคม 2507
พายุเฮอริเคนระดับ 4 150 ไมล์/ชม. (240 กม./ชม.) 941 hPa ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐ 38 &0000000125000000000000125 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [4][24]
เบ็ตซี
(Betsy)
แบลนช์
(Blanche)
27 สิงหาคม –
14 กันยายน 2508
พายุเฮอริเคนระดับ 4 155 ไมล์/ชม. (250 กม./ชม.) 941 hPa บาฮามาส, ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐ 75 &00000014205000000000001.42 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [4][25]
ไอเนซ
(Inez)
อิซาเบล
(Isabel)
21 กันยายน –
11 ตุลาคม 2509
พายุเฮอริเคนระดับ 4 150 ไมล์/ชม. (240 กม./ชม.) 929 hPa แคริบเบียน, รัฐฟลอริดา, เม็กซิโก 710 &0000000615500000000000616 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [26]
10 ชื่อ อ้างอิง:[nb 2][nb 3] 9,183 &00000041558500000000004.16 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ชื่อที่ถูกถอนในช่วงพุทธทศวรรษ 2510 แก้

 
พายุเฮอริเคนฟีฟีขณะมีกำลังสูงสุดทางเหนือของฮอนดูรัส

ในรอบทศวรรษนี้มีชื่อพายุถูกถอนจำนวน 7 ชื่อ มีจำนวนผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 8,747 คน และสร้างความเสียหายมากถึง &00000071963500000000007.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ชื่อ ชื่อใช้แทน วันที่พายุมีกำลัง ความรุนแรงสูงสุด ความเร็วลมพัดต่อเนื่อง ความกดอากาศ พื้นที่ผลกระทบ ผู้เสียชีวิต ความเสียหาย
(USD)
อ้างอิง
บิวลาห์
(Beulah)
เบท
(Beth)
5 – 22 กันยายน 2510 พายุเฮอริเคนระดับ 5 160 ไมล์/ชม. (260 กม./ชม.) 921 hPa แคริบเบียน, เม็กซิโก, รัฐเท็กซัส 59 &0000000207650000000000208 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [27]
คามิลล์
(Camille)
ซินดี้
(Cindy)
14 – 22 สิงหาคม 2512 พายุเฮอริเคนระดับ 5 175 ไมล์/ชม. (280 กม./ชม.) 900 hPa คิวบา, ชายฝั่งด้านอ่าวของสหรัฐ 256 &00000014207000000000001.42 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [4][25][28]
ซีเลีย
(Celia)
คาร์เมน
(Carmen)
31 กรกฎาคม – 5 สิงหาคม 2513 พายุเฮอริเคนระดับ 3 125 ไมล์/ชม. (205 กม./ชม.) 945 hPa คิวบา, ชายฝั่งด้านอ่าวของสหรัฐ 20 &0000000930000000000000930 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [29][30]
แอกเนส
(Agnes)
ไม่มี[nb 4] 14 – 23 มิถุนายน 2515 พายุเฮอริเคนระดับ 1 85 ไมล์/ชม. (140 กม./ชม.) 977 hPa เม็กซิโก, คิวบา, ภาคตะวันออกของสหรัฐ 124 &00000021000000000000002.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [30][31]
คาร์เมน
(Carmen)
ไม่มี[nb 4] 29 สิงหาคม – 10 กันยายน 2517 พายุเฮอริเคนระดับ 4 150 ไมล์/ชม. (240 กม./ชม.) 928 hPa อเมริกากลาง, เม็กซิโก
ชายฝั่งด้านอ่าวของสหรัฐ
8 &0000000162000000000000162 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [32][33]
ฟีฟี
(Fifi)
ไม่มี[nb 4] 14 – 24 กันยายน 2517 พายุเฮอริเคนระดับ 2 110 ไมล์/ชม. (180 กม./ชม.) 971 hPa จาเมกา, อเมริกากลาง, เม็กซิโก 8,200 &00000018000000000000001.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [34][35]
เอลุยส์
(Eloise)
ไม่มี[nb 4] 13 – 24 กันยายน 2518 พายุเฮอริเคนระดับ 3 125 ไมล์/ชม. (205 กม./ชม.) 955 hPa แคริบเบียน, คาบสมุทรยูกาตัน, รัฐฟลอริดา 80 &0000000550000000000000550 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [36]
7 ชื่อ อ้างอิง:[nb 2][nb 3] >8,747 &00000071703500000000007.17 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ชื่อที่ถูกถอนในช่วงพุทธทศวรรษ 2520 แก้

 
พายุเฮอริเคนเดวิดขณะมีกำลังสูงสุด

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เป็นต้นไป องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกได้เริ่มกำหนดให้ทั้งชื่อของผู้ชายและผู้หญิงมาใช้เป็นชื่อของพายุหมุนเขตร้อนได้[14] โดยในรอบทศวรรษนี้ชื่อ เดวิด และ เฟรเดริก นับเป็นชื่อพายุหมุนเขตร้อนที่เป็นชื่อผู้ชายสองชื่อแรกที่ถูกถอนในพายุเฮอริเคนแอตแลนติก ในรอบทศวรรษนี้มีชื่อพายุถูกถอนจำนวน 8 ชื่อ มีจำนวนผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 2,403 คน และสร้างความเสียหายมากถึง 1 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ

ชื่อ ชื่อใช้แทน วันที่พายุมีกำลัง ความรุนแรงสูงสุด ความเร็วลมพัดต่อเนื่อง ความกดอากาศ พื้นที่ผลกระทบ ผู้เสียชีวิต ความเสียหาย
(USD)
อ้างอิง
แอนิตา
(Anita)
ไม่มี[nb 4] 29 สิงหาคม – 4 กันยายน 2520 พายุเฮอริเคนระดับ 5 175 ไมล์/ชม. (280 กม./ชม.) 926 hPa เม็กซิโก 10 &0000000000000001000000 มหาศาล [37]
เกรตา
(Greta)
ไม่มี[nb 4] 13 – 23 กันยายน 2521 พายุเฮอริเคนระดับ 4 130 ไมล์/ชม. (215 กม./ชม.) 947 hPa แคริบเบียน, อเมริกากลาง, เม็กซิโก 5 &000000002600000000000026 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [38]
เดวิด
(David)
แดนนี
(Danny)
25 สิงหาคม – 8 กันยายน 2522 พายุเฮอริเคนระดับ 5 175 ไมล์/ชม. (280 กม./ชม.) 924 hPa แคริบเบียน, ชายฝั่งด้านตะวันออกของสหรัฐ 2,068 &00000015400000000000001.54 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [38][39]
เฟรเดริก
(Frederic)
เฟเบียน
(Fabian)
29 สิงหาคม – 15 กันยายน 2522 พายุเฮอริเคนระดับ 4 130 ไมล์/ชม. (215 กม./ชม.) 943 hPa แคริบเบียน, ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐ 12 &00000017000000000000001.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [39][25]
แอลเลน
(Allen)
แอนดรูว์
(Andrew)
31 กรกฎาคม – 11 สิงหาคม 2523 พายุเฮอริเคนระดับ 5 190 ไมล์/ชม. (305 กม./ชม.) 899 hPa แคริบเบียน, คาบสมุทรยูกาตัน, เม็กซิโก, ตอนใต้ของรัฐเท็กซัส 269 &00000015700000000000001.57 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [38][40][41]
อลิเซีย
(Alicia)
แอลลิสัน
(Allison)
15 – 21 สิงหาคม 2526 พายุเฮอริเคนระดับ 3 115 ไมล์/ชม. (185 กม./ชม.) 963 hPa ด้านตะวันออกของรัฐเท็กซัส, รัฐลุยเซียนา 21 &00000030000000000000003 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [25][42]
เอเลนา
(Elena)
เอริกา
(Erika)
28 สิงหาคม – 4 กันยายน 2528 พายุเฮอริเคนระดับ 3 125 ไมล์/ชม. (205 กม./ชม.) 953 hPa คิวบา, ชายฝั่งด้านอ่าวของสหรัฐ 9 &00000013000000000000001.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [25][43][44]
กลอเรีย
(Gloria)
เกรซ
(Grace)
16 กันยายน – 2 ตุลาคม 2528 พายุเฮอริเคนระดับ 4 145 ไมล์/ชม. (230 กม./ชม.) 919 hPa ชายฝั่งด้านตะวันออกของสหรัฐ, แอตแลนติกแคนาดา 9 &0000000900000000000000900 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [43]
8 ชื่อ อ้างอิง:[nb 2][nb 3] 2,403 1 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ

ชื่อที่ถูกถอนในช่วงพุทธทศวรรษ 2530 แก้

 
พายุเฮอริเคนกิลเบิร์ตขณะมีกำลังสูงสุด
 
ความเสียหายจากพายุเฮอริเคนแอนดรูว์ในไมอามี

ในทศวรรษนี้มีพายุเฮอริเคนที่โดดเด่นหลายลูก หนึ่งในนั้นคือ แอนดรูว์ ซึ่งเป็นพายุที่สร้างความเสียหายมากที่สุดในขณะนั้น และ กิลเบิร์ต ซึ่งเป็นพายุที่มีความกดอากาศต่ำที่สุด 888 hPa ซึ่งต่ำที่สุดในทศวรรษ โดยในรอบทศวรรษนี้มีชื่อพายุถูกถอนจำนวน 14 ชื่อ มีจำนวนผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 1,093 คน และสร้างความเสียหายมากถึง 5.97 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ

ชื่อ ชื่อใช้แทน วันที่พายุมีกำลัง ความรุนแรงสูงสุด ความเร็วลมพัดต่อเนื่อง ความกดอากาศ พื้นที่ผลกระทบ ผู้เสียชีวิต ความเสียหาย
(USD)
อ้างอิง
กิลเบิร์ต
(Gilbert)
กอร์ดอน
(Gordon)
8 – 19 กันยายน 2531 พายุเฮอริเคนระดับ 5 185 ไมล์/ชม. (295 กม./ชม.) 888 hPa จาเมกา, เวเนซุเอลา, อเมริกากลาง, เกาะฮิสปันโยลา, เม็กซิโก 318 &00000029800000000000002.98 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [30][45]
โจอัน
(Joan)
จอยซ์
(Joyce)
11 ตุลาคม – 2 พฤศจิกายน 2531 พายุเฮอริเคนระดับ 4 145 ไมล์/ชม. (230 กม./ชม.) 932 hPa เลสเซอร์แอนทิลลีส, โคลอมเบีย, เวเนซุเอลา, อเมริกาใต้ 216 &00000020000000000000002 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [45]
ฮิวโก
(Hugo)
อุมเบอร์โต
(Humberto)
9 – 25 กันยายน 2532 พายุเฮอริเคนระดับ 5 160 ไมล์/ชม. (260 กม./ชม.) 918 hPa แคริบเบียน, ชายฝั่งด้านตะวันออกของสหรัฐ 49 &00000097000000000000009.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [30][46]
ไดอานา
(Diana)
ดอลลี
(Dolly)
4 – 9 สิงหาคม 2533 พายุเฮอริเคนระดับ 2 100 ไมล์/ชม. (165 กม./ชม.) 980 hPa คาบสมุทรยูกาตัน, ภาคกลางของเม็กซิโก 139 &000000009000000000000090 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [47]
เคลาส์
(Klaus)
ไคล์
(Kyle)
3 – 9 ตุลาคม 2533 พายุเฮอริเคนระดับ 1 80 ไมล์/ชม. (130 กม./ชม.) 985 hPa เลสเซอร์แอนทิลลีส, บาฮามาส, ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐ 11 &00000000010000000000001 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [47][48]
บ็อบ
(Bob)
บิลล์
(Bill)
16 – 20 สิงหาคม 2534 พายุเฮอริเคนระดับ 3 115 ไมล์/ชม. (185 กม./ชม.) 950 hPa ชายฝั่งด้านตะวันออกของสหรัฐ, แคนาดา 17 &00000015000000000000001.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [49]
แอนดรูว์
(Andrew)
อเล็กซ์
(Alex)
16 – 28 สิงหาคม 2535 พายุเฮอริเคนระดับ 5 175 ไมล์/ชม. (280 กม./ชม.) 922 hPa บาฮามาส, รัฐฟอลริดา, ชายฝั่งด้านอ่าวของสหรัฐ 65 &000002725000000000000027.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [25][50]
ลูอิส
(Luis)
โลเรนโซ
(Lorenzo)
27 สิงหาคม – 11 กันยายน 2538 พายุเฮอริเคนระดับ 4 140 ไมล์/ชม. (220 กม./ชม.) 935 hPa หมู่เกาะลีเวิร์ด, ปวยร์โตรีโก, เบอร์มิวดา 19 &00000025000000000000002.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [51]
แมริลีน
(Marilyn)
มิเชล
(Michelle)
12 – 22 กันยายน 2538 พายุเฮอริเคนระดับ 3 115 ไมล์/ชม. (185 กม./ชม.) 949 hPa แคริบเบียน, เบอร์มิวดา 8 &00000021000000000000002.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [25][51]
โอปอล
(Opal)
ออลกา
(Olga)
27 กันยายน – 6 ตุลาคม 2538 พายุเฮอริเคนระดับ 4 150 ไมล์/ชม. (240 กม./ชม.) 916 hPa กัวเตมาลา, คาบสมุทรยูกาตัน, ภาคตะวันออกของสหรัฐ 59 &00000047000000000000004.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [25][52]
ร็อกแซน
(Roxanne)
รีเบกาห์
(Rebekah)
7 – 21 ตุลาคม 2538 พายุเฮอริเคนระดับ 3 115 ไมล์/ชม. (185 กม./ชม.) 956 hPa เม็กซิโก 14 &00000015000000000000001.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [51]
ซีซาร์
(Cesar)
คริสโตบอล
(Cristobal)
24 – 29 กรกฎาคม 2539 พายุเฮอริเคนระดับ 1 85 ไมล์/ชม. (140 กม./ชม.) 985 hPa อเมริกากลาง, เม็กซิโก 113 &0000000202960000000000203 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [38][53][54][55][56]
แฟรน
(Fran)
เฟย์
(Fay)
23 สิงหาคม – 8 กันยายน 2539 พายุเฮอริเคนระดับ 3 120 ไมล์/ชม. (195 กม./ชม.) 946 hPa ภาคตะวันออกของสหรัฐ 26 &00000050000000000000005 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [4][25]
ฮอร์เทนส์
(Hortense)
แฮนนา
(Hanna)
3 – 16 กันยายน 2539 พายุเฮอริเคนระดับ 4 140 ไมล์/ชม. (220 กม./ชม.) 935 hPa แคริบเบียน, ปวยร์โตรีโก, แอตแลนติกแคนาดา 39 &0000000158000000000000158 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [57][58][59]
14 ชื่อ อ้างอิง:[nb 2][nb 3] >1,093 5.97 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ

ชื่อที่ถูกถอนในช่วงพุทธทศวรรษ 2540 แก้

 
พายุเฮอริเคนชาร์ลีพัดขึ้นฝั่งในวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2547 ขณะมีกำลังสูงสุด

ในทศวรรษนี้มีพายุเฮอริเคนที่ถูกถอนชื่อที่มีความโดดเด่นอยู่หลายลูก ได้แก่ แคทรินา ซึ่งเป็นพายุเฮอริเคนที่สร้างความเสียหายมากที่สุดที่ 1.25 แสนล้านสหรัฐทั่วทั้งชายฝั่งด้านอ่าวของสหรัฐ[25] และยังเป็นหนึ่งในพายุที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในสหรัฐนับตั้งแต่เหตุการณ์พายุเฮอริเคนที่โอคีโชบี พ.ศ. 2471 ด้วย[4] ต่อมาคือ แอลลิสัน ซึ่งทำให้เกิดอุทกภัยในด้านตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐเท็กซัส และสร้างความเสียหายประมาณ 8.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ทำให้มันกลายเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรงระดับพายุโซนร้อนลูกแรกที่ถูกถอนชื่อในแอ่งนี้[60][61] ต่อมาคือ จีนน์ ซึ่งเป็นพายุที่มีจำนวนผู้เสียชีวิตมากที่สุดในรอบทศวรรษ โดยมีผู้เสียขีวิตมากกว่า 3,000 คน[62] ต่อมาในระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2548 พายุเฮอริเคนวิลมากลายเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่ทรงพลังที่สุดในบันทึกของแองแอตแลนติก ด้วยความกดอากาศต่ำสุดที่ศูนย์กลาง 882 hPa[63] โดยรวมแล้วมีชื่อพายุถูกถอนจำนวน 22 ชื่อ มีจำนวนผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 18,851 คน และสร้างความเสียหายมากถึง 2.87 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ

ชื่อ ชื่อใช้แทน วันที่พายุมีกำลัง ความรุนแรงสูงสุด ความเร็วลมพัดต่อเนื่อง ความกดอากาศ พื้นที่ผลกระทบ ผู้เสียชีวิต ความเสียหาย
(USD)
อ้างอิง
จอร์ช
(Georges)
แกสตัน
(Gaston)
15 กันยายน – 1 ตุลาคม 2541 พายุเฮอริเคนระดับ 4 155 ไมล์/ชม. (250 กม./ชม.) 937 hPa แคริบเบียน, ชายฝั่งด้านอ่าวของสหรัฐ 604 &000001394000000000000013.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [64][65][66][67][68]
มิตช์
(Mitch)
แมทธิว
(Matthew)
22 ตุลาคม – 5 พศศจิกายน 2541 พายุเฮอริเคนระดับ 5 180 ไมล์/ชม. (285 กม./ชม.) 905 hPa อเมริกากลาง, คาบสมุทรยูกาตัน, ตอนใต้ของรัฐฟลอริดา >11,000 &00000060800000000000006.08 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [69][70][71]
ฟลอยด์
(Floyd)
แฟรงกลิน
(Franklin)
7 – 19 กันยายน 2542 พายุเฮอริเคนระดับ 4 155 ไมล์/ชม. (250 กม./ชม.) 921 hPa บาฮามาส, ภาคตะวันออกของสหรัฐ, แอตแลนติกแคนาดา 57 &00000069000000000000006.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [72]
เลนนี
(Lenny)
ลี
(Lee)
13 – 23 พฤศจิกายน 2542 พายุเฮอริเคนระดับ 4 155 ไมล์/ชม. (250 กม./ชม.) 933 hPa โคลอมเบีย, ปวยร์โตรีโก, หมู่เกาะลีเวิร์ด 17 &0000000685800000000000686 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [73][74][75][76][77][78]
คีธ
(Keith)
เคิล์ก
(Kirk)
28 กันยายน – 6 ตุลาคม 2543 พายุเฮอริเคนระดับ 4 140 ไมล์/ชม. (220 กม./ชม.) 939 hPa อเมริกากลาง 56 &0000000318700000000000319 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [38][79][80][81]
แอลลิสัน
(Allison)
แอนเดรีย
(Andrea)
4 – 18 มิถุนายน 2544 พายุโซนร้อน 60 ไมล์/ชม. (95 กม./ชม.) 1000 hPa รัฐเท็กซัส, รัฐลุยเซียนา, ภาคใต้ของสหรัฐ 50 &00000085000000000000008.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [25][82]
ไอริส
(Iris)
อิงกริด
(Ingrid)
4 – 9 ตุลาคม 2544 พายุเฮอริเคนระดับ 4 145 ไมล์/ชม. (230 กม./ชม.) 948 hPa เกาะฮิสปันโยลา, จาเมกา, เบลีซ, กัวเตมาลา, เม็กซิโก 31 &0000000140000000000000140 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [83][84]
มิเชล
(Michelle)
เมลิสซา
(Melissa)
29 ตุลาคม – 6 พฤศจิกายน 2544 พายุเฮอริเคนระดับ 4 140 ไมล์/ชม. (220 กม./ชม.) 933 hPa อเมริกากลาง, จาเมกา, คิวบา, บาฮามาส 17 &00000020000000000000002 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [66][83]
อิซิดอร์
(Isidore)
ไอค์
(Ike)
14 – 27 กันยายน 2545 พายุเฮอริเคนระดับ 3 125 ไมล์/ชม. (205 กม./ชม.) 934 hPa คิวบา, คาบสมุทรยูกาตัน, รัฐลุยเซียนา 17 &00000013000000000000001.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [85][86]
ลิลลี
(Lili)
ลอร่า
(Laura)
21 กันยายน – 4 ตุลาคม 2545 พายุเฮอริเคนระดับ 4 145 ไมล์/ชม. (230 กม./ชม.) 938 hPa หมู่เกาะวินด์เวิร์ด, คิวบา, จาเมกา, เฮติ, รัฐลุยเซียนา 15 &00000011600000000000001.16 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [25][87]
เฟเบียน
(Fabian)
เฟรด
(Fred)
25 สิงหาคม – 8 กันยายน 2546 พายุเฮอริเคนระดับ 4 145 ไมล์/ชม. (230 กม./ชม.) 939 hPa เบอร์มิวดา 4 &0000000300000000000000300 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [88]
อิซาเบล
(Isabel)
ไอด้า
(Ida)
6 – 20 กันยายน 2546 พายุเฮอริเคนระดับ 5 165 ไมล์/ชม. (270 กม./ชม.) 915 hPa เกรตเตอร์แอนทิลลีส, บาฮามาส, ภาคตะวันออกของสหรัฐ, รัฐออนแทรีโอ 51 &00000055000000000000005.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [25][89]
ฮวน
(Juan)
วาคีน
(Joaquin)
24 – 29 กันยายน 2546 พายุเฮอริเคนระดับ 2 105 ไมล์/ชม. (170 กม./ชม.) 969 hPa แอตแลนติกแคนาดา 5 &0000000200000000000000200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [88][90]
ชาร์ลี
(Charley)
คอลิน
(Colin)
9 – 15 สิงหาคม 2547 พายุเฮอริเคนระดับ 4 150 ไมล์/ชม. (240 กม./ชม.) 941 hPa จาเมกา, หมู่เกาะเคย์แมน, คิวบา, รัฐฟลอริดา, เดอะแคโรไลนาส 40 &000001690000000000000016.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [25][91]
ฟรานเซส
(Frances)
ฟีโอนา
(Fiona)
24 สิงหาคม – 10 กันยายน 2547 พายุเฮอริเคนระดับ 4 145 ไมล์/ชม. (230 กม./ชม.) 935 hPa แคริบเบียน, ภาคตะวันออกของสหรัฐ, รัฐออนแทรีโอ 50 &00000098000000000000009.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [92][93][94]
อีวาน
(Ivan)
อีกอร์
(Igor)
2 – 24 กันยายน 2547 พายุเฮอริเคนระดับ 5 165 ไมล์/ชม. (270 กม./ชม.) 910 hPa แคริบเบียน, เวเนซุเอลา, ชายฝั่งด้านอ่าวของสหรัฐ 124 &000002607250000000000026.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [25][93][95]
จีนน์
(Jeanne)
จูเลีย
(Julia)
13 – 28 กันยายน 2547 พายุเฮอริเคนระดับ 3 120 ไมล์/ชม. (195 กม./ชม.) 950 hPa แคริบเบียน, ภาคตะวันออกของสหรัฐ 3,035 &00000079400000000000007.94 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [38][62][93]
เดนนิส
(Dennis)
ดอน
(Don)
4 – 13 กรกฎาคม 2548 พายุเฮอริเคนระดับ 4 150 ไมล์/ชม. (240 กม./ชม.) 930 hPa เกรตเตอร์แอนทิลลีส, ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐ 89 &00000039845000000000003.98 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [25][96][97]
แคทรีนา
(Katrina)
กาตียา
(Katia)
23 – 30 สิงหาคม 2548 พายุเฮอริเคนระดับ 5 175 ไมล์/ชม. (280 กม./ชม.) 902 hPa บาฮามาส, ชายฝั่งด้านอ่าวของสหรัฐ 1,836 &0000125000000000000000125 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [25][98]
ริตา
(Rita)
รีน่า
(Rina)
18 – 26 กันยายน 2548 พายุเฮอริเคนระดับ 5 180 ไมล์/ชม. (290 กม./ชม.) 895 hPa คิวบา, ชายฝั่งด้านอ่าวของสหรัฐ 62 &000001850000000000000018.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [25][99]
สแตน
(Stan)
ชอน
(Sean)
1 – 5 ตุลาคม 2548 พายุเฮอริเคนระดับ 1 80 ไมล์/ชม. (130 กม./ชม.) 977 hPa เม็กซิโก, อเมริกากลาง 1,668 &00000039640000000000003.96 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [38][100]
วิลมา
(Wilma)
วิตนีย์
(Whitney)
15 – 26 ตุลาคม 2548 พายุเฮอริเคนระดับ 5 185 ไมล์/ชม. (295 กม./ชม.) 882 hPa เกรตเตอร์แอนทิลลีส, อเมริกากลาง, คาบสมุทรยูกาตัน, รัฐฟลอริดา 23 &000002739400000000000027.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [25][101][102][103][104]
22 ชื่อ อ้างอิง:[nb 2][nb 3] 18,851 2.87 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ

ชื่อที่ถูกถอนในช่วงพุทธทศวรรษ 2550 แก้

 
พายุเฮอริเคนแมตธิวทวีกำลังแรงขึ้นอย่างรวดเร็วทางเหนือของประเทศโคลอมเบียในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2559

โดยรวมแล้วในทศวรรษนี้มีชื่อพายุถูกถอนจำนวน 15 ชื่อ มีจำนวนผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 1,754 คน และสร้างความเสียหายมากถึง 1.51 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ

ชื่อ ชื่อใช้แทน วันที่พายุมีกำลัง ความรุนแรงสูงสุด ความเร็วลมพัดต่อเนื่อง ความกดอากาศ พื้นที่ผลกระทบ ผู้เสียชีวิต ความเสียหาย
(USD)
อ้างอิง
ดีน
(Dean)
โดเรียน
(Dorian)
13 – 23 สิงหาคม 2550 พายุเฮอริเคนระดับ 5 175 ไมล์/ชม. (280 กม./ชม.) 905 hPa แคริบเบียน, อเมริกากลาง 45 &00000017780000000000001.78 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [38][105]
เฟลิกซ์
(Felix)
เฟอร์แนนด์
(Fernand)
31 สิงหาคม – 5 กันยายน 2550 พายุเฮอริเคนระดับ 5 175 ไมล์/ชม. (280 กม./ชม.) 929 hPa นิการากัว, ฮอนดูรัส 130 &0000000720000000000000720 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [105][106][107][108]
โนเอล
(Noel)
เนสตอร์
(Nestor)
28 ตุลาคม – 2 พฤศจิกายน 2550 พายุเฮอริเคนระดับ 1 80 ไมล์/ชม. (130 กม./ชม.) 980 hPa เกรตเตอร์แอนทิลลีส, ภาคตะวันออกของสหรัฐ, แอตแลนติกแคนาดา 163 &0000000580000000000000580 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [105]
กุสตาฟ
(Gustav)
กอนซาโล
(Gonzalo)
25 สิงหาคม – 4 กันยายน 2551 พายุเฮอริเคนระดับ 4 155 ไมล์/ชม. (250 กม./ชม.) 941 hPa เกรตเตอร์แอนทิลลีส, หมู่เกาะเคย์แมน, ชายฝั่งด้านอ่าวของสหรัฐ 153 &00000083100000000000008.31 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [25][38][109]
ไอค์
(Ike)
ไอเซอัส
(Isaias)
1 – 14 กันยายน 2551 พายุเฮอริเคนระดับ 4 145 ไมล์/ชม. (230 กม./ชม.) 935 hPa เกรตเตอร์แอนทิลลีส, รัฐเท็กซัส, รัฐลุยเซียนา, ภาคมิดเวสเทิร์นของสหรัฐ 195 &000003800000000000000038 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [25]
พาโลมา
(Paloma)
พอเลตต์
(Paulette)
5 – 10 พฤศจิกายน 2551 พายุเฮอริเคนระดับ 4 145 ไมล์/ชม. (230 กม./ชม.) 944 hPa หมู่เกาะเคย์แมน, คิวบา 1 &0000000300000000000000300 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [110][111]
อีกอร์
(Igor)
เอียน
(Ian)
8 – 21 กันยายน 2553 พายุเฮอริเคนระดับ 4 155 ไมล์/ชม. (250 กม./ชม.) 924 hPa เบอร์มิวดา, นิวฟันด์แลนด์ 4 &0000000200000000000000200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [112]
โทมัส
(Tomas)
โทไบอัส
(Tobias)
29 ตุลาคม – 7 พฤศจิกายน 2553 พายุเฮอริเคนระดับ 2 100 ไมล์/ชม. (155 กม./ชม.) 982 hPa แคริบเบียน 44 &0000000347950000000000348 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [113]
ไอรีน
(Irene)
เออร์มา
(Irma)
21 – 28 สิงหาคม 2554 พายุเฮอริเคนระดับ 3 120 ไมล์/ชม. (195 กม./ชม.) 942 hPa แคริบเบียบ, บาฮามาส, ชายฝั่งด้านตะวันออกของสหรัฐ, ภาคตะวันออกของแคนาดา 58 &000001420000000000000014.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [25][38][114][115]
แซนดี
(Sandy)
ซารา
(Sara)
22 – 29 ตุลาคม 2555 พายุเฮอริเคนระดับ 3 115 ไมล์/ชม. (185 กม./ชม.) 940 hPa แคริบเบียน, บาฮามาส, ชายฝั่งด้านตะวันออกของสหรัฐ, ภาคตะวันออกของแคนาดา 234 &000006868000000000000068.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [25][116][117]
อิงกริด
(Ingrid)
อีเมลดา
(Imelda)
12 – 17 กันยายน 2556 พายุเฮอริเคนระดับ 1 85 ไมล์/ชม. (140 กม./ชม.) 983 hPa เม็กซิโก 32 &00000015000000000000001.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [38][118]
เอริกา
(Erika)
เอลซา
(Elsa)
24 – 28 สิงหาคม 2558 พายุโซนร้อน 50 ไมล์/ชม. (85 กม./ชม.) 1001 hPa เลสเซอร์แอนทิลลีส, เกาะฮิสปันโยลา 35 &0000000511400000000000511 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
วาคีน
(Joaquin)
จูเลียน
(Julian)
28 กันยายน – 8 ตุลาคม 2558 พายุเฮอริเคนระดับ 4 155 ไมล์/ชม. (250 กม./ชม.) 931 hPa บาฮามาส, เบอร์มิวดา 34 &0000000200000000000000200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
แมตธิว
(Matthew)
มาร์ติน
(Martin)
28 กันยายน – 9 ตุลาคม 2559 พายุเฮอริเคนระดับ 5 165 ไมล์/ชม. (270 กม./ชม.) 934 hPa แคริบเบียน, ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐ 603 &000001508800000000000015.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [25]
อ็อตโต
(Otto)
โอเว่น
(Owen)
20 – 26 พฤศจิกายน 2559 พายุเฮอริเคนระดับ 3 115 ไมล์/ชม. (185 กม./ชม.) 975 hPa ปานามา, คอสตาริกา, นิการากัว 23 &0000000192200000000000192 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
15 ชื่อ อ้างอิง:[nb 2][nb 3] 1,754 &0000150607550000000000151 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ชื่อที่ถูกถอนในช่วงพุทธทศวรรษ 2560 แก้

 
พายุเฮอริเคนมารีอาขณะมีกำลังสูงสุดทางตะวันออกเฉียงใต้ของปวยร์โตรีโกในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2560

ในรอบทศวรรษนี้พายุเฮอริเคนมารีอาเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรงที่สุด โดยมีความกดอากาศต่ำสุดที่ 908 hPa รวมถึงยังเป็นพายุที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตมากถึง 3,057 คนอีกด้วย ต่อมาพายุเฮอริเคนเออร์มาเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรงที่สุดในทศวรรษด้านความเร็วลม โดยมีความเร็วลมพัด 180 ไมล์/ชม. (290 กม./ชม.) ส่วนพายุเฮอริเคนฮาร์วีย์ยังคงเป็นพายุเฮอริเคนที่สร้างความเสียหายมากที่สุดในทศวรรษนี้อยู่ โดยรวมแล้วในทศวรรษนี้มีชื่อพายุถูกถอนจำนวน 6 ชื่อ มีจำนวนผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 3,475 คน และสร้างความเสียหายมากถึง 3.31 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ

ชื่อ ชื่อใช้แทน วันที่พายุมีกำลัง ความรุนแรงสูงสุด ความเร็วลมพัดต่อเนื่อง ความกดอากาศ พื้นที่ผลกระทบ ผู้เสียชีวิต ความเสียหาย
(USD)
อ้างอิง
ฮาร์วีย์
(Harvey)
แฮโรลด์
(Harold)
17 สิงหาคม – 1 กันยายน 2560 พายุเฮอริเคนระดับ 4 130 ไมล์/ชม. (215 กม./ชม.) 937 hPa (27.67 inHg) รัฐเท็กซัส, รัฐลุยเซียนา 107 &0000125000000000000000125 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [25]
เออร์มา
(Irma)
อิดาเลีย
(Idalia)
30 สิงหาคม – 12 กันยายน 2560 พายุเฮอริเคนระดับ 5 180 ไมล์/ชม. (290 กม./ชม.) 914 hPa แคริบเบียน, ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐ 134 &000006476000000000000064.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [25]
มารีอา
(Maria)
มาร์กอท
(Margot)
16 – 30 กันยายน 2560 พายุเฮอริเคนระดับ 5 175 ไมล์/ชม. (280 กม./ชม.) 908 hPa เลสเซอร์แอนทิลลีส, ปวยร์โตรีโก 3,057 &000009160000000000000091.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [119]
เนต
(Nate)
ไนเจล
(Nigel)
4 – 9 ตุลาคม 2560 พายุเฮอริเคนระดับ 1 90 ไมล์/ชม. (150 กม./ชม.) 981 hPa อเมริกากลาง, ชายฝั่งด้านอ่าวของสหรัฐ 48 &0000000787000000000000787 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
ฟลอเรนซ์
(Florence)
แฟรนซีน
(Francine)
31 สิงหาคม – 16 กันยายน 2561 พายุเฮอริเคนระดับ 4 140 ไมล์/ชม. (220 กม./ชม.) 939 hPa ภาคตะวันออกของสหรัฐ 57 &000002400000000000000024 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
ไมเคิล
(Michael)
มิลตัน
(Milton)
7 – 12 ตุลาคม 2561 พายุเฮอริเคนระดับ 5 160 ไมล์/ชม. (260 กม./ชม.) 919 hPa (27.14 inHg) อเมริกากลาง, ชายฝั่งด้านอ่าวของสหรัฐ 74 &000002510000000000000025.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
6 ชื่อ อ้างอิง:[nb 2][nb 3] 3,522 3.31 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ

ดูเพิ่ม แก้

หมายเหตุ แก้

  1. ความเสียหายทั้งหมดในบทความนี้อยู่ในหน่วยดอลลาร์สหรัฐและเป็นค่าเงินในปีดังกล่าวที่พายุเกิดขึ้น เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอื่น
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 อ้างอิงสำหรับชื่อที่ถูกถอน[1][2][3]
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7 อ้างอิงสำหรับข้อมูลวันที่, ฤดูกาล, ความเร็วลม และความกดอากาศ[13]
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 ชื่อแอกเนส, คาร์เมน, ฟีฟี, เอลุยส์, แอนิตา และ เกรตา ไม่มีชื่อมาทดแทนเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงชุดรายชื่อพายุหมุนเขตร้อนในปี พ.ศ. 2522

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 RA IV Hurricane Committee (June 6, 2017). "Chapter 9: Tropical Cyclone Names" (PDF). Regional Association IV: Hurricane Operational Plan 2017. World Meteorological Organization. pp. 110–113. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ January 28, 2018. สืบค้นเมื่อ January 28, 2018.
  2. 2.0 2.1 Padgett, Gary; Beven, John L; Free, James Lewis; Delgado, Sandy (April 27, 2016). "Subject: B3) What storm names have been retired?". Tropical Cyclone Frequently Asked Questions. United States Hurricane Research Division. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 19, 2015. สืบค้นเมื่อ January 28, 2018.
  3. 3.0 3.1 "Tropical Cyclone Naming History and Retired Names". United States National Hurricane Center. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 19, 2015. สืบค้นเมื่อ January 28, 2018.
  4. 4.00 4.01 4.02 4.03 4.04 4.05 4.06 4.07 4.08 4.09 Blake et all 2011; Table 2: Mainland U.S. tropical cyclones causing 25 or greater deaths 1851-2010. p7
  5. 5.0 5.1 Blake, Eric S; Rappaport, Edward N; Jarell, Jerry D; Landsea, Christopher W; Tropical Prediction Center; National Hurricane Center (August 2005). The Deadliest, Costliest, and Most Intense United States Tropical Cyclones from 1851 to 2004 (PDF) (NOAA Technical Memorandum NWS NHC-4). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. p. 8. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 2, 2012. สืบค้นเมื่อ December 2, 2012.
  6. Canadian Hurricane Centre (September 14, 2010). 1954-Carol (Storm Impact Summaries). Environment Canada. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 5, 2014. สืบค้นเมื่อ January 5, 2014.
  7. Davies, Walter R (1954). "Hurricanes of 1954" (PDF). Monthly Weather Review. 82 (12): 370–373. Bibcode:1954MWRv...82..370D. doi:10.1175/1520-0493(1954)082<0370:HO>2.0.CO;2. ISSN 1520-0493. สืบค้นเมื่อ September 10, 2011.
  8. National Weather Service Forecast Office in Boston, Massachusetts (December 5, 2005). "Hurricane Edna". United States National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ January 9, 2011.
  9. 9.0 9.1 9.2 Hebert, Paul J; Taylor, Glenn; National Hurricane Center (January 1983). The Deadliest, Costliest, and Most Intense United States Hurricanes of This Century (and Other Frequently Requested Hurricane Facts) (PDF) (NOAA Technical Memorandum NWS TPC-18). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. p. 5. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ December 3, 2012. สืบค้นเมื่อ December 2, 2012.
  10. National Weather Service Forecast Office in Raleigh North Carolina. "Event summary, Hurricane Hazel, October 1954". United States National Oceanic and Atmospheric Administration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 4, 2012. สืบค้นเมื่อ December 2, 2012.
  11. "Beaver Valley Times - Google News Archive Search".
  12. 12.0 12.1 12.2 Dunn, Gordon E.; Davies, Walter R; Moore, Paul L (1955). "Hurricanes of 1955" (PDF). Monthly Weather Review. 83 (12): 315–326. Bibcode:1955MWRv...83..315D. doi:10.1175/1520-0493(1955)083<0315:HO>2.0.CO;2. ISSN 1520-0493. สืบค้นเมื่อ August 16, 2011.
  13. "Atlantic hurricane best track (HURDAT version 2)". Hurricane Research Division (Database). National Hurricane Center. May 1, 2018. สืบค้นเมื่อ เมษายน 6. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  14. 14.0 14.1 14.2 14.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Mahina
  15. Kohler, Joseph P, บ.ก. (1960). New Procedure for naming tropical cyclones in the North Atlantic (Mariners Weather Log: March 1960). Vol. 4. United States Weather Bureau.
  16. Report of the 1969 Interdepartmental Hurricane Warning Conference (Combined - Atlantic and Pacific) (PDF). 1969 Interdepartmental Hurricane Warning Conference. Miami, Florida. March 1969. p. 12. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ April 10, 2015. สืบค้นเมื่อ April 10, 2015.
  17. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Anna
  18. Hebert, Paul J; Jarell, Jerry D; Mayfield, Britt M; Tropical Prediction Center; National Hurricane Center (February 1996). The Deadliest, Costliest, and Most Intense United States Hurricanes of This Century (and Other Frequently Requested Hurricane Facts) (PDF) (NOAA Technical Memorandum NWS TPC-1). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. p. 7. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ December 2, 2012. สืบค้นเมื่อ December 2, 2012.
  19. Dunn, Gordon E (March 1, 1961). "The Hurricane Season of 1960" (PDF). Monthly Weather Review. 89 (3): 100. Bibcode:1961MWRv...89...99D. doi:10.1175/1520-0493-89.3.99. ISSN 0027-0644. สืบค้นเมื่อ December 3, 2012.
  20. Dunn, Gordon E (1962). "The Hurricane Season of 1961" (PDF). Monthly Weather Review. 89 (3): 108. Bibcode:1962MWRv...90..107D. doi:10.1175/1520-0493(1962)090<0107:THSO>2.0.CO;2. ISSN 0027-0644. สืบค้นเมื่อ December 3, 2012.
  21. National Meteorological Services of Belize (November 2, 2006). "Belize Marked 45th Anniversary of Deadly Hurricane Hattie". Belize National Emergency Management Organization. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 3, 2012. สืบค้นเมื่อ December 3, 2012.
  22. Dunn, Gordon E; Staff (March 1, 1964). "The hurricane season of 1963" (PDF). Monthly Weather Review. 92 (3): 128. Bibcode:1964MWRv...92..128D. doi:10.1175/1520-0493-92.3.128. สืบค้นเมื่อ December 4, 2012.
  23. 23.0 23.1 Dunn, Gordon E; Staff (March 1, 1965). "The hurricane season of 1964" (PDF). Monthly Weather Review. 93 (3): 177. Bibcode:1965MWRv...93..175D. doi:10.1175/1520-0493-93.3.175. สืบค้นเมื่อ December 4, 2012.
  24. Hebert, Paul J; Case, Robert A; National Hurricane Center (February 1990). The Deadliest, Costliest, and Most Intense United States Hurricanes of This Century (and Other Frequently Requested Hurricane Facts) (PDF) (NOAA Technical Memorandum NWS NHC-31). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. p. 7. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ December 2, 2012. สืบค้นเมื่อ December 2, 2012.
  25. 25.00 25.01 25.02 25.03 25.04 25.05 25.06 25.07 25.08 25.09 25.10 25.11 25.12 25.13 25.14 25.15 25.16 25.17 25.18 25.19 25.20 25.21 25.22 25.23 25.24 25.25 Costliest U.S. tropical cyclones tables update (PDF) (Report). United States National Hurricane Center. January 12, 2018. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ January 26, 2018. สืบค้นเมื่อ January 12, 2018.
  26. Sugg, Arnold L (March 1, 1967). "The hurricane season of 1966" (PDF). Monthly Weather Review. 95 (3): 133. Bibcode:1967MWRv...95..131S. doi:10.1175/1520-0493(1967)095<0131:THSO>2.3.CO;2. สืบค้นเมื่อ December 4, 2012.
  27. Sugg, Arnold L; Peliser, Joseph M (1967). "The Hurricane Season of 1967" (PDF). Monthly Weather Review. 96 (4): 243. Bibcode:1968MWRv...96..242S. doi:10.1175/1520-0493(1968)096<0242:THSO>2.0.CO;2. ISSN 0027-0644. สืบค้นเมื่อ December 3, 2012.
  28. National Hurricane Center (April 1, 2014). "Re-analysis of 1969's Hurricane Camille Completed — Catastrophic hurricane now ranks as second strongest on record" (PDF) (Press release). United States National Oceanic and Atmospheric Administration. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ March 29, 2014. สืบค้นเมื่อ April 1, 2014.
  29. National Hurricane Center (July 12, 1997). Hurricane Celia: July 31 – August 5 (Preliminary Report). National Oceanic and Atmospheric Administration. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 3, 2012. สืบค้นเมื่อ December 3, 2012.
  30. 30.0 30.1 30.2 30.3 Blake, Eric S; Landsea, Christopher W; Gibney, Ethan J (August 2011). The Deadliest, Costliest, and Most Intense United States Tropical Cyclones from 1851 to 2010 (And Other Frequently Requested Hurricane Facts) (PDF) (NOAA Technical Memorandum NWS NHC-6). United States National Hurricane Center. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ November 27, 2012. สืบค้นเมื่อ November 27, 2012.
  31. Simpson, Robert H; Hebert, Paul J (April 1, 1973). "Atlantic Hurricane Season of 1972" (PDF). Monthly Weather Review. 101 (4): 326. Bibcode:1973MWRv..101..323S. doi:10.1175/1520-0493(1973)101<0323:AHSO>2.3.CO;2. สืบค้นเมื่อ December 3, 2012.
  32. United Press International (September 6, 1974). "Hurricane Gathers Strength In Gulf". Beaver Country Times. สืบค้นเมื่อ April 25, 2010.
  33. Hope, John R (April 1, 1975). "Atlantic Hurricane Season of 1974". Monthly Weather Review. 103 (4): 290. Bibcode:1975MWRv..103..285H. doi:10.1175/1520-0493(1975)103<0285:AHSO>2.0.CO;2. ISSN 1520-0493.
  34. "Aid Efforts Start For Honduras, Fifi Deaths Soar". Pittsburgh Post-Gazette. Associated Press. September 24, 1974. สืบค้นเมื่อ November 8, 2009.
  35. Rappaport, Edward N; Fernandez-Partagas, Jose; National Hurricane Center (January 1995). The Deadliest Atlantic Tropical Cyclones, 1492 – 1994 (PDF) (NOAA Technical Memorandum NWS NHC-47). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. p. 23. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ January 13, 2013. สืบค้นเมื่อ January 13, 2013.
  36. Hebert, Paul J (April 1, 1976). "Atlantic Hurricane Season of 1975". Monthly Weather Review. 104 (4): 455. Bibcode:1976MWRv..104..453H. doi:10.1175/1520-0493(1976)104<0453:AHSO>2.0.CO;2. ISSN 1520-0493.
  37. Lawrence, Miles B (April 1, 1978). "Atlantic Hurricane Season of 1977". Monthly Weather Review. 106 (4): 536–540. Bibcode:1978MWRv..106..534L. doi:10.1175/1520-0493(1978)106<0534:AHSO>2.0.CO;2. ISSN 1520-0493.
  38. 38.00 38.01 38.02 38.03 38.04 38.05 38.06 38.07 38.08 38.09 38.10 Centre for Research on the Epidemiology of Disasters; Guha-Sapir, D. "EM-DAT: The Emergency Events Database". Université catholique de Louvain. สืบค้นเมื่อ เมษายน 6. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  39. 39.0 39.1 Hebert, Paul J (July 1, 1980). "Atlantic Hurricane Season of 1979" (PDF). Monthly Weather Review. 108 (7): 976. Bibcode:1980MWRv..108..973H. doi:10.1175/1520-0493(1980)108<0973:AHSO>2.0.CO;2. ISSN 1520-0493. สืบค้นเมื่อ December 3, 2012.
  40. Lawrence, Miles B; Pelissier, Joseph M (July 1, 1981). "Atlantic Hurricane Season of 1980". Monthly Weather Review. 109 (7): 1567–1582. Bibcode:1981MWRv..109.1567L. doi:10.1175/1520-0493(1981)109<1567:AHSO>2.0.CO;2. ISSN 1520-0493.
  41. National Hurricane Center. Hurricane Allen July 31 – August 11 (Preliminary Report). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. pp. 1–6. สืบค้นเมื่อ December 6, 2012.
  42. Case, Robert A; Gerrish, Harold P (May 1, 1984). "Atlantic Hurricane Season of 1983". Monthly Weather Review. 112 (5): 1083–1092. Bibcode:1984MWRv..112.1083C. doi:10.1175/1520-0493(1984)112<1083:AHSO>2.0.CO;2. ISSN 1520-0493.
  43. 43.0 43.1 Case, Robert A (July 1, 1986). "Atlantic Hurricane Season of 1985" (PDF). Monthly Weather Review. 114 (7): 1395. Bibcode:1986MWRv..114.1390C. doi:10.1175/1520-0493(1986)114<1390:AHSO>2.0.CO;2. ISSN 1520-0493. สืบค้นเมื่อ November 30, 2012.
  44. "30th Anniversary of Hurricane Elena". 2015-09-02.
  45. 45.0 45.1 Lawrence, Miles B; Gross, James M (October 1, 1989). "Atlantic Hurricane Season of 1988". Monthly Weather Review. 117 (10): 2248–2259. Bibcode:1989MWRv..117.2248L. doi:10.1175/1520-0493(1989)117<2248:AHSO>2.0.CO;2. ISSN 1520-0493.
  46. Case, Bob; Mayfield, Max (May 1, 1990). "Atlantic Hurricane Season of 1989". Monthly Weather Review. 118 (5): 1175. Bibcode:1990MWRv..118.1165C. doi:10.1175/1520-0493(1990)118<1165:AHSO>2.0.CO;2. ISSN 1520-0493.
  47. 47.0 47.1 Mayfield, Britt M; Lawrence, Miles B (August 1, 1991). "Atlantic Hurricane Season of 1990". Monthly Weather Review. 119 (8): 2014–2026. Bibcode:1991MWRv..119.2014M. doi:10.1175/1520-0493(1991)119<2014:AHSO>2.0.CO;2. ISSN 1520-0493.
  48. Glass, Robert (October 6, 1990). "Klaus Weakens, Moves Over Open Atlantic Waters". Associated Press. สืบค้นเมื่อ December 7, 2012.
  49. Pasch, Richard J; Avila, Lixion A (November 1, 1992). "Atlantic Hurricane Season of 1991". Monthly Weather Review. 120 (11): 2671. Bibcode:1992MWRv..120.2671P. doi:10.1175/1520-0493(1992)120<2671:AHSO>2.0.CO;2. ISSN 1520-0493.
  50. Rappaport, Edward N; National Hurricane Center (December 10, 1993). Hurricane Andrew: August 16 – 28 (Preliminary Report). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. สืบค้นเมื่อ January 1, 2013.
  51. 51.0 51.1 51.2 Lawrence, Miles B; Mayfield, Britt M; Avila, Lixion A; Pasch, Richard J; Rappaport, Edward N (May 1, 1998). "Atlantic Hurricane Season of 1995". Monthly Weather Review. 126 (5): 1124–1151. Bibcode:1998MWRv..126.1124L. doi:10.1175/1520-0493(1998)126<1124:AHSO>2.0.CO;2. ISSN 1520-0493.
  52. Mayfield, Britt Max; National Hurricane Center (November 2, 1995). [[[:แม่แบบ:NHC TCR url]] Hurricane Opal: September 27 – October 6, 1995] (Preliminary Report). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ September 13, 2014. สืบค้นเมื่อ September 13, 2014. {{cite report}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  53. Staff Writer (July 29, 1996). "San Andrés Toma Aire Luego Del Huracán César" (ภาษาสเปน). El Tiempo. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 29, 2012. สืบค้นเมื่อ September 27, 2010.
  54. "Three dead after Cesar storms Caracas". Hamilton Spectator. Caracas, Venezuela. July 27, 1996.(ต้องรับบริการ)
  55. "Hurricane Cesar Nicaragua 1996". Global Facility for Disaster Reduction and Recovery. 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 1, 2014. สืบค้นเมื่อ January 14, 2013.
  56. "Effects of the Damage Caused by Hurricane Cesar on the Development of Costa Rica in 1996" (PDF) (Report). United Nations Economic Commission for Latin America and the Caribbean. October 23, 1996. สืบค้นเมื่อ January 14, 2013.[ลิงก์เสีย]
  57. National Climatic Data Center (September 1996). "Storm Data and Unusual Weather Phenomena with Late Reports and Corrections" (PDF). 38 (9). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Environmental Satellite, Data, and Information Service: 84. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ January 1, 2013. สืบค้นเมื่อ January 1, 2013. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  58. Lafortune, Richard; Oullet, Dianne; Canadian Hurricane Centre (July 10, 2009). Canadian Tropical Cyclone Season Summary for 1996 (Report). Environment Canada. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 1, 2013. สืบค้นเมื่อ January 1, 2013.
  59. Avila, Lixion A; National Hurricane Center (October 23, 1996). Hurricane Hortense September 3 - 16, 1996 (Preliminary Report). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. สืบค้นเมื่อ June 17, 2012.
  60. Grow, Erica (August 26, 2012). "Facts Worth Knowing About Tropical Storms". WX Edge. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-11. สืบค้นเมื่อ December 10, 2012.
  61. McAdie, Colin J; Landsea, Christopher W; Neumann, Charles J; David, Joan E; Blake, Eric S; Hammer, Gregory R; National Hurricane Center; National Climatic Data Center (August 20, 2009). Tropical Cyclones of the North Atlantic Ocean, 1851 – 2006 (PDF) (Sixth ed.). National Oceanic and Atmospheric Administration's National Environmental Satellite, Data, and Information Service. p. 14. สืบค้นเมื่อ January 19, 2013.
  62. 62.0 62.1 Lawrence, Miles B; Cobb, Hugh D (November 22, 2004). [[[:แม่แบบ:NHC TCR url]] Tropical Cyclone Report: Hurricane Jeanne: September 13 – 28]. National Hurricane Center (Report). National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ September 13, 2014. สืบค้นเมื่อ September 13, 2014. {{cite report}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  63. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ 2005 AHS
  64. Guiney, John L; National Hurricane Center (January 5, 1999). [[[:แม่แบบ:NHC TCR url]] Hurricane Georges: September 15 - October 1, 1998] (Preliminary Report). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ September 13, 2014. สืบค้นเมื่อ September 13, 2014. {{cite report}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  65. Office of U.S. Foreign Disaster Assistance (October 8, 1998). Eastern Caribbean, Dominican Republic, Haiti — Hurricane Georges Fact Sheet #9, Fiscal Year (FY) 1999 (Report). United States Agency for International Development. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 28, 2012. สืบค้นเมื่อ August 24, 2007.
  66. 66.0 66.1 Pielke, Roger A; Rubiera, Jose; Landsea, Christopher; Fernández, Mario L; Klein, Roberta (August 1, 2003). "Hurricane Vulnerability in Latin America and The Caribbean: Normalized Damage and Loss Potentials" (PDF). Natural Hazards Review. 4 (3): 101–114. doi:10.1061/(ASCE)1527-6988(2003)4:3(101). ISSN 1527-6988. สืบค้นเมื่อ November 28, 2012.
  67. International Federation of Red Cross And Red Crescent Societies (March 22, 1999). Caribbean — Hurricane Georges Situation Report No. 3 (PDF) (Report). ReliefWeb. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ November 28, 2012. สืบค้นเมื่อ November 28, 2012.
  68. Pan American Health Organisation (November 25, 1998). "Impact of Hurricane Georges on health sector response". Pan American Health Organisation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 14, 2006. สืบค้นเมื่อ November 27, 2012.
  69. National Climatic Data Center (2004). "Mitch: The Deadliest Atlantic Hurricane Since 1780". United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Environmental Satellite, Data, and Information Service. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ กรกฎาคม 17, 2012. สืบค้นเมื่อ มกราคม 13, 2013.
  70. Inter-American Development Bank. "Central America After Hurricane Mitch- Costa Rica". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 19, 2005. สืบค้นเมื่อ January 13, 2013.
  71. Inter-American Development Bank. "Central America After Hurricane Mitch- El Salvador". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 26, 2005. สืบค้นเมื่อ January 13, 2013.
  72. Pasch, Richard J; Kimberlain, Todd B; Stewart, Stacy R; National Hurricane Center (November 18, 1999). [[[:แม่แบบ:NHC TCR url]] Hurricane Floyd: September 7 - 17, 1999] (Preliminary Report). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ September 13, 2014. สืบค้นเมื่อ September 13, 2014. {{cite report}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  73. Lawrence, Miles B; Avila, Lixion A; Beven, Jack L; Franklin, James L; Guiney, John L; Pasch, Richard J (December 1, 2001). "Atlantic Hurricane Season of 1999". Monthly Weather Review. 129 (12): 3057–3084. Bibcode:2001MWRv..129.3057L. CiteSeerX 10.1.1.212.9040. doi:10.1175/1520-0493(2001)129<3057:AHSO>2.0.CO;2. ISSN 1520-0493.
  74. Stoutt, Jerinice (November 21, 2005). "Impact of Hurricanes on the British Virgin Island Economy". Government of the British Virgin Islands. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 22, 2007. สืบค้นเมื่อ January 2, 2013.
  75. Pan American Health Organization (2007). "Anguilla" (PDF). Health in the Americas, 2007. II–Countries. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ June 29, 2011. สืบค้นเมื่อ October 10, 2011.
  76. Resolution on Hurricane Lenny – St Martin – West Indies (Motion for a Resolution). European Parliament. February 22, 2000. สืบค้นเมื่อ January 19, 2013.
  77. "Hurricane Lenny Recovery in the Eastern Caribbean" (DOC). United States Agency for International Development. April 17, 2000. สืบค้นเมื่อ September 28, 2011.
  78. United Nations Office for the Coordination of Humanitarian Affairs (November 30, 1999). "Hurricane Lenny OCHA Situation Report No. 7". Relief Web. สืบค้นเมื่อ October 10, 2011.
  79. "Belize: Assessment of the Damage Caused By Hurricane Keith, 2000" (PDF). United Nations Economic Commission for Latin America and the Caribbean. November 30, 2000. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ May 26, 2011. สืบค้นเมื่อ December 10, 2012.
  80. Bitrán Bitrán; Daniel (November 2001). Impacto socioeconómico de los principales desastres ocurridos en la República Mexicana en el año 2000 (PDF) (ภาษาสเปน) (1st ed.). Centro Nacional de Prevención de Desastres. ISBN 978-970-628-592-8. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ February 27, 2008. สืบค้นเมื่อ December 10, 2012.
  81. Beven II, John L (January 29, 2001). [[[:แม่แบบ:NHC TCR url]] Tropical Cyclone Report: Hurricane Keith] (PDF). National Hurricane Center (Report). National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ October 8, 2014. {{cite report}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  82. Stewart, Stacy R (November 28, 2001). [[[:แม่แบบ:NHC TCR url]] Tropical Cyclone Report: Tropical Storm Allison June 5-17, 2001] (PDF). National Hurricane Center (Report). National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ October 8, 2014. {{cite report}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  83. 83.0 83.1 Beven, John L; Stewart, Stacy R; Lawrence, Miles B; Avila, Lixion A; Franklin, James L; Pasch, Richard J (July 1, 2003). "Atlantic Hurricane Season of 2001". Monthly Weather Review. 131 (7): 1454–1484. Bibcode:2003MWRv..131.1454B. CiteSeerX 10.1.1.406.2342. doi:10.1175/1520-0493(2003)131<1454:ASHSO>2.0.CO;2. ISSN 1520-0493.
  84. "Desastres naturales" (ภาษาสเปน). Banco Interamericano de Desarrollo. February 14, 2002. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 9, 2012. สืบค้นเมื่อ December 10, 2012.
  85. Pasch, Richard J; Lawrence, Miles B; Avila, Lixion A; Beven, John L; Franklin, James L; Stewart, Stacy R (July 1, 2004). "Atlantic Hurricane Season of 2002". Monthly Weather Review. 132 (7): 1829–1859 [1854]. Bibcode:2004MWRv..132.1829P. doi:10.1175/1520-0493(2004)132<1829:AHSO>2.0.CO;2. ISSN 1520-0493.
  86. "Tabla 10. Principales desastres naturales, 1980-2005" (PDF). El Almanaque Mexicano 2008: 20. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ January 2, 2013.
  87. Lawerence, Miles B; Cobb III, Hugh D (April 3, 2003). [[[:แม่แบบ:NHC TCR url]] Tropical Cyclone Report: Hurricane Lili: September 21 – October 4, 2002]. National Hurricane Center (Report). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. สืบค้นเมื่อ September 13, 2014. {{cite report}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  88. 88.0 88.1 Lawrence, Miles B; Avila, Lixion A; Beven, John L; Franklin, James L; Pasch, Richard J; Stewart, Stacy R (June 1, 2005). "Atlantic Hurricane Season of 2003". Monthly Weather Review. 133 (6): 1744–1773. Bibcode:2005MWRv..133.1744L. doi:10.1175/MWR2940.1.
  89. Beven II, John L; Cobb III, Hugh D (July 1, 2004). [[[:แม่แบบ:NHC TCR url]] Tropical Cyclone Report: Hurricane Isabel: September 6 – 20, 2003]. National Hurricane Center (Report). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. สืบค้นเมื่อ September 13, 2014. {{cite report}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  90. Fogarty, Chris (May 12, 2005). "Hurricane Juan Storm Summary" (PDF). Canadian Hurricane Centre. NovaWeather. สืบค้นเมื่อ September 15, 2011.
  91. Pasch, Richard J; Blake, Eric S; Brown, Daniel P; National Hurricane Center (October 18, 2004). Hurricane Charley August 9 – 15 (Tropical Cyclone Report). National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ December 10, 2012.
  92. Beven II, John L (December 17, 2004). [[[:แม่แบบ:NHC TCR url]] Tropical Cyclone Report: Hurricane Frances August 24 – September 10]. National Hurricane Center (Report). National Oceanic and Atmospheric Administration. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ September 13, 2014. สืบค้นเมื่อ September 13, 2014. {{cite report}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  93. 93.0 93.1 93.2 Hurricane Committee (August 12, 2005). Twenty-seventh Session (March 31 to April 5, 2005) (PDF) (Final Report). World Meteorological Organization. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ November 27, 2012. สืบค้นเมื่อ December 10, 2012.
  94. Hurricanes Charley, Frances, Ivan & Jeanne Caribbean Impact (PDF) (Speciality Property Briefing). Guy Carpenter and Company. August 12, 2005. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2006-11-03. สืบค้นเมื่อ December 10, 2012.
  95. Stewart, Stacy R (December 16, 2004). Tropical Cyclone Report: Hurricane Ivan September 2 - 24, 2004 (PDF). National Hurricane Center (Report). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. คลังข้อมูลเก่าเก็บจาก[[[:แม่แบบ:NHC TCR url]] แหล่งเดิม]เมื่อ September 13, 2014. สืบค้นเมื่อ September 13, 2014. {{cite report}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  96. Beven, John L (November 22, 2005). Tropical Cyclone Report: Hurricane Dennis: July 4 – 13, 2005 (PDF). National Hurricane Center (Report). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. คลังข้อมูลเก่าเก็บจาก[[[:แม่แบบ:NHC TCR url]] แหล่งเดิม]เมื่อ September 13, 2014. สืบค้นเมื่อ September 13, 2014. {{cite report}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  97. Church World Service (August 23, 2005). "CWS emergency appeal: Cuba/Hurricane Dennis response". Relief Web. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 9, 2012. สืบค้นเมื่อ December 10, 2012.
  98. Knabb, Richard D; Rhome, Jamie R; Brown, Daniel P; National Hurricane Center (December 20, 2005). [[[:แม่แบบ:NHC TCR url]] Hurricane Katrina: August 23 – 30, 2005] (PDF) (Tropical Cyclone Report). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. สืบค้นเมื่อ September 13, 2014. {{cite report}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  99. Knabb, Richard D; Brown, Daniel P; Rhome, Jamie R (March 17, 2006). [[[:แม่แบบ:NHC TCR url]] Tropical Cyclone Report: Hurricane Rita: September 18 – 26, 2005]. National Hurricane Center (Report). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. สืบค้นเมื่อ September 13, 2014. {{cite report}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  100. Pasch, Richard J; Roberts, David P; National Hurricane Center (February 4, 2006). [[[:แม่แบบ:NHC TCR url]] Hurricane Stan: October 1 – 5, 2005] (Tropical Cyclone Report). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. สืบค้นเมื่อ December 10, 2012. {{cite report}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  101. Pasch, Richard J; Blake, Eric S; Cobb III, Hugh D; Roberts, David P (January 12, 2006). [[[:แม่แบบ:NHC TCR url]] Tropical Cyclone Report: Hurricane Wilma: October 15 – 26, 2005]. National Hurricane Center (Report). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. สืบค้นเมื่อ September 13, 2014. {{cite report}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  102. Comisión Nacional del Agua (2006). "Resumen del Huracán "Wilma"" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ November 27, 2012. สืบค้นเมื่อ December 10, 2012.
  103. Royster, Amy (December 4, 2005). "Wilma's Waves Devastate Grand Bahama Communities". Palm Beach Post.(ต้องรับบริการ)
  104. "Hurricane Wilma exacts losses of 704 million dollars: Cuban government". Relief Web. Agence France-Presse. December 4, 2005. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 27, 2012. สืบค้นเมื่อ December 10, 2012.
  105. 105.0 105.1 105.2 Brennan, Michael J; Knabb, Richard D; Mainelli, Michelle; Kimberlain, Todd B (December 1, 2009). "Atlantic Hurricane Season of 2007". Monthly Weather Review. 137 (12): 4061–4088. Bibcode:2009MWRv..137.4061B. doi:10.1175/2009MWR2995.1.
  106. Organización de las Naciones Unidas para la Agricultura y la Alimentación (FAO), Nicaragua (2007). "Evaluación de Daños Causados por el Huracán Félix en el Caribe de Nicaragua" (PDF) (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ December 10, 2012.
  107. Silva, José A (January 29, 2008). "Huracán los terminó de hundir en la pobreza" (ภาษาสเปน). El Nuevo Diario. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 22, 2009. สืบค้นเมื่อ December 10, 2012.
  108. Comisión Permanente de Contingencias, Government of Honduras (September 7, 2007). "Honduras: Informe preliminar de daños por Huracán Félix y últimas lluvias — Copeco — Boletín #53 - 07 de Septiembre 2007" (ภาษาสเปน). Reliefweb. สืบค้นเมื่อ December 10, 2012.
  109. Beven, John L; Kimberlain, Todd B; National Hurricane Center (January 22, 2009). [[[:แม่แบบ:NHC TCR url]] Hurricane Gustav: August 25 – September 4, 2008] (Tropical Cyclone Report). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ September 13, 2014. สืบค้นเมื่อ September 13, 2014. {{cite report}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  110. Brown, Daniel P; Beven, John L; Franklin, James L; Blake, Eric S (May 1, 2010). "Atlantic Hurricane Season of 2008". Monthly Weather Review. 138 (5): 1975–2001. Bibcode:2010MWRv..138.1975B. doi:10.1175/2009MWR3174.1.
  111. Meteorological Service of Jamaica (2009). Jamaica’s Report on the 2008 Hurricane Season. Forty-eighth Session of the Caribbean Meteorological Council and Related Meetings. สืบค้นเมื่อ July 19, 2015.
  112. Pasch, Richard J; Kimberlain, Todd B (February 15, 2011). [[[:แม่แบบ:NHC TCR url]] Tropical Cyclone Report: Hurricane Igor: September 8–21] (PDF) (Report). United States National Hurricane Center. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ November 30, 2012. สืบค้นเมื่อ July 19, 2015. {{cite report}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  113. Pasch, Richard J; Kimberlain, Todd B (March 7, 2011). [[[:แม่แบบ:NHC TCR url]] Tropical Cyclone Report: Hurricane Tomas October 29 – November 7, 2010] (PDF) (Report). United States National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ July 19, 2015. {{cite report}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  114. Avila, Lixion A; Cangialosi, John (December 14, 2011). [[[:แม่แบบ:NHC TCR url]] Tropical Cyclone Report: Hurricane Irene: August 21 – 28, 2011] (PDF) (Report). United States National Hurricane Center. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ November 28, 2012. สืบค้นเมื่อ July 19, 2015. {{cite report}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  115. Telling the Weather Story (PDF) (Report). Insurance Bureau of Canada. June 4, 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ July 19, 2015. สืบค้นเมื่อ July 19, 2015.
  116. Blake, Eric S; Kimberlain, Todd B; Berg, Robert J; Cangialosi, John P; Beven II, John L (February 12, 2013). [[[:แม่แบบ:NHC TCR url]] Tropical Cyclone Report: Hurricane Sandy: October 22 – 29, 2012] (PDF) (Report). United States National Hurricane Center. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ February 17, 2013. สืบค้นเมื่อ July 19, 2015. {{cite report}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  117. Hurricane/Post-Tropical Cyclone Sandy, October 22–29, 2012 (PDF) (Service Assessment). United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. May 2013. p. 10. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ June 2, 2013. สืบค้นเมื่อ June 2, 2013.
  118. Beven II, John L (February 12, 2013). Tropical Cyclone Report: Hurricane Ingrid: September 12 – 17, 2013 (PDF) (Report). United States National Hurricane Center. คลังข้อมูลเก่าเก็บจาก[[[:แม่แบบ:NHC TCR url]] แหล่งเดิม] (PDF)เมื่อ June 21, 2014. สืบค้นเมื่อ June 1, 2017. {{cite report}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  119. "Puerto Rican Government Acknowledges Hurricane Death Toll of 1,427" (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-08-09.