ผู้ใช้:Kanoklak604305065/ทดลองเขียน

องค์การบริหารส่วนตำบลสนามจันทร์

ประวัติความเป็นมา แก้

สมัยรัชกาลที่ 3 พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงปฏิสังขรณ์องค์พระปฐมเจดีย์ขึ้น ได้ใช้พวกมอญมาทำการปั้นอิฐ เพื่อเสริมองค์พระปฐมเจดีย์ให้ใหญ่ขึ้น ทำให้บริเวณที่ชาวมอญขุดดินขึ้นมาปั้นเกิดเป็นหลุมดินจนกลายเป็นสระน้ำ ชาวบ้านจึงเรียก สระน้ำจันทร์ ต่อมารัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงสร้างถนนและทรงพลผ่านมาจนถึงบ้านโปร่ง เพื่อซ้อมรบลูกเสือป่า ทรงได้สร้างพระราชวังขึ้นเรียกว่า พระราชวังสนามจันทร์ เพราะเห็นว่าบริเวณสระน้ำจันทร์น่าอยู่อาศัย และต่อมาได้ใช้ชื่อพระราชวังเป็นชื่อตำบลจึงชื่อตำบลว่า ตำบลสนามจันทร์[1]

สภาพภูมิประเทศ แก้

  • สภาพภูมิประเทศ องค์การบริหารส่วนตำบลสนามจันทร์ สภาพทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม มีแหล่งน้ำธรรมชาติ ไหลผ่านหมู่บ้าน เหมาะสำหรับทำการเกษตร เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย และแหล่งการค้า มีคลองชลประทานไหลผ่านหมู่บ้าน [2]

สภาพทั่วไปและที่ตั้ง แก้

  • สภาพทั่วไปและที่ตั้ง อำเภอเมือง นครปฐม จังหวัดนครปฐม ตำบลสนามจันทร์เป็นหน่งในจำนวน 24 ตำบล และตั้งอยู่ห่างจากอำเภอเมืองนครปฐม ประมาณ 3 กิโลเมตร โดยมีอาณาเขตดังนี้[2]

อาณาเขต แก้

[2]อาณาเขต
ทิศเหนือ อยู่ติดกับ เทศบาลนครปฐม
ทิศใต้ อยู่ติดกับ เทศบาลถนนขาด
ทิศตะวันออก อยู่ติดกับ ตำบลห้วยจระเข้
ทิศตะวันตก อยู่ติดกับ ตำบลบางแขม
  • เนื้อที่ (แสดงเนื้อที่โดยประมาณเป็นตารางกินโลเมตรและไร่)
         องค์การบริหารส่วนตำบลสนามจันทร์  มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 4.19 ตารางกิโลเมตร  หรือประมาณ 2,618.8  ไร่[2]

ข้อมูลประชากร แก้

  • ข้อมูลประชากร ตารางแสดงสถิติจำนวนของประชากรและจำนวนครัวเรือนในตำบลสนามจันทร์
ข้อมูลประชากรและครัวเรือน     [3]
ที่
หมู่บ้าน
จำนวนประชากรคน
จำนวนครัวเรือน
ชาย
หญิง
รวม
1 บ้านปากคลองท่าถั่ว 227 212 439 122
2 บ้านหนองน้ำกิน 457 510 967 436
3 บ้านคลองตาแย้ม 105 122 227 59
4 บ้านคลองบางกนก 47 58 105 52
5 บ้านคลองสวนน้อย 61 73 134 48
6 บ้านหัวสวน 164 181 345 116
รวม 1,061 1,156 2,217 833

การประปา แก้

  • การประปา เขตองค์การบริหารส่วนตำบลสนามจันทร์ มีการประปาส่วนภูมิภาค มีรายละเอียดดังนี้[4]

หมู่ที่ 1 บ้านปากคลองท่าถั่ว

หมู่ที่ 2 บ้านหนองน้ำกิน

หมู่ที่ 3 บ้านคลองตาแย้ม

หมู่ที่ 4 บ้านคลองบางกนก

หมู่ที่ 5 บ้านคลองสวนอ้อย

หมู่ที่ 6 บ้านหัวสวน

การสื่อสารและโทรคมนาค แก้

  • การสื่อสารและโทรคมนาคม[4]

ตู้โทรศัพท์สาธารณะ

- บริเวณทางเข้าวัดกระทุ่ม

- บริเวณหน้าบริษัท ดับเบิ้ลยู พี เค พาร์ท จำกัด

- บริเวณสี่แยกหัวเนิน

- บริเวณหน้าสถานีอนามัยตำบลสนามจันทร์

ระบบกระจายเสียงไร้สายมีทั้งหมด 24 จุด

ข่ายวิทยุสื่อสาร 162.575 MH

ลักษณะเศรษฐกิจ แก้

  • ลักษณะเศรษฐกิจ การเกษตร[5]

1. เกษตรกร 7.30%

2. ค้าขาย/ธุระกิจส่วนตัว 8.71%

3. รับจ้างทั่วไป 38%

4. รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ 3.21%

5. นักเรียน/นักศึกษา 20.71%

6. อื่นๆ 17.68%

  • ลักษณะเศรษฐกิจ การอุตสาหกรรม[5]

1. ร้านค้าชุมชนตำบลสนามจันทร์

2. ปั้มน้ำมันสวนอ้อย

3. ปั้มน้ำมันร้านค้าชุมชนตำบลสนามจันทร์

4. บริษัททวูเทค สยาม จำกัด

5. บริษัทวุ้นเส้นตะวันออก

6. โกดังเสริมวิน

7. บริษัท เอ็นเอชเค สปริง (ประเทศไทย) จำกัด

8. บริษัทกรุงเทพชลกิจ จำกัด

9. บริษัทดับเบิ้ลยู พี เค พาร์ท จำกัด

สถานะภาพทางการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

สภาพทางการศึกษา[6]
สถานที่ จำนวน(แห่ง)
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1
โรงเรียนประถมศึกษา 1
โรงเรียนมัธยมศึกษา 1
ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน/ห้องสมุดประชาชน 3
สถาบันและองค์กรทางศาสนา[6]
สถานที่ จำนวน(แห่ง)
มูลนิธิ 1
  1. ที่มา:ประวัติความเป็นมาของตำบลสนามจันทร์ (ออนไลน์). (2559). สืบค้นจาก :http://www.sanamjan.go.th/about/index.php [25 ธันวาคม 2562]
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 ที่มา:สภาพทั่วไป/สภาพภูมิประเทศของตำบลสนามจันทร์ (ออนไลน์). (2559). สืบค้นจาก : http://www.sanamjan.go.th/about/about01_2.php [25 ธันวาคม 2562]
  3. ที่มา:ข้อมูลประชากรองค์การบริหารส่วนตำบลสนามจันทร์ (ออนไลน์). (2561). สืบค้นจาก : http://sanumjun.go.th/public/communityinfo/data/index/menu/177 [25 ธันวาคม 2562]
  4. 4.0 4.1 ที่มา:ลักษณะโครงสร้างพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตำบลสนามจันทร์ (ออนไลน์). (2561). สืบค้นจาก : http://sanumjun.go.th/public/infrastructure/data/index/menu/27[25 ธันวาคม 2562]
  5. 5.0 5.1 ที่มา:ลักษณะเศรษฐกิจขององค์การบริหารส่วนตำบลสนามจันทร์ (ออนไลน์). (2561). สืบค้นจาก : http://sanumjun.go.th/public/communityinfo/data/index/menu/177[25 ธันวาคม 2562]
  6. 6.0 6.1 ที่มา:สถานะภาพทางการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมขององค์การบริหารส่วนตำบลสนามจันทร์ (ออนไลน์). (2561). สืบค้นจาก : http://www.sanamjan.go.th/about/about01_6.php[25 ธันวาคม 2562]
เทศบาลนครนครปฐม
 
พระราชวังสนามจันทร์
คำขวัญ: 
จัดการศึกษาให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน อาหารปลอดภัย ให้บริการสาธารณะอย่างมีประสิทธิภาพ และทั่วถึง มุ่งสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่
 
 
ทน.นครปฐม
ที่ตั้งของเทศบาลนครนครปฐม
 
 
ทน.นครปฐม
ทน.นครปฐม (ประเทศไทย)
พิกัด: 13°49′14″N 100°03′45″E / 13.82056°N 100.06250°E / 13.82056; 100.06250
ประเทศ  ไทย
จังหวัดนครปฐม
อำเภอเมืองนครปฐม
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีนายเอกพันธุ์ คุปตวัช
พื้นที่
 • ทั้งหมด19.85 ตร.กม. (7.66 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2560)
 • ทั้งหมด78,599 คน
 • ความหนาแน่น4,000 คน/ตร.กม. (10,000 คน/ตร.ไมล์)
รหัส อปท.{{{code}}}
ที่อยู่
สำนักงาน
โรงเรียนเทศบาล 3 ถนนราชวิถี ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม 73000
โทรศัพท์0 3425 3850-4
โทรสาร0 3425 4705
เว็บไซต์www.nakhonpathomcity.go.th
  ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย