ผู้ใช้:Colaber/ทดลองเขียน1

แม่แบบ:Use American English

โครงการอาร์ทิมิส
An arrowhead combined with a depiction of a trans-lunar injection trajectory forms an "A", with an "Artemis" wordmark printed underneath
ประเทศสหรัฐ
องค์กรนาซา ร่วมกับ องค์การอวกาศยุโรป , องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น, และ องค์การอวกาศแคนาดา
วัตถุประสงค์นำลูกเรือสำรวจดวงจันทร์
สถานะกำลังดำเนินการ
ประวัติโครงการ
ค่าใช้จ่าย1,279,950 ล้านบาท (2020–2024)[1]
ระยะเวลา2017–ปัจจุบัน[2]
เที่ยวบินแรกอาร์ทิมิส 1 (NET 20 กันยายน 2022)
เที่ยวบินแรกที่มีลูกเรืออาร์ทิมิส 2 (NET พฤษภาคม 2024)[3]
สถานที่ปล่อย
ข้อมูลยานพาหนะ
ยานพาหนะมีคนขับ
ยานพาหนะที่ปล่อย

โครงการอาร์ทิมิส (อังกฤษ: Artemis program) เป็นโครงการการบินอวกาศของมนุษย์ระดับนานาชาติที่นำโดยสหรัฐ มีเป้าหมายหลักคือการส่งมนุษย์กลับคืนสู่ดวงจันทร์ (โดยเฉพาะขั้วใต้ของดวงจันทร์) ภายใน พ.ศ. 2567[2][6] หากสำเร็จ จะเป็นภารกิจลงจอดบนดวงจันทร์ครั้งแรกนับตั้งแต่อะพอลโล 17 ใน พ.ศ. 2515 ซึ่งเป็นเที่ยวบินไปดวงจันทร์ครั้งสุดท้ายของโครงการอะพอลโล

โครงการอาร์ทิมิสเริ่มต้นในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2560 โดยเป็นการปรับโครงสร้างองค์กรและความพยายามอย่างต่อเนื่องในการฟื้นฟูโครงการอวกาศของสหรัฐ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 เป้าหมายระยะสั้นที่ระบุไว้คือการพาผู้หญิงคนแรกลงเหยียบบนพื้นดวงจันทร์ วัตถุประสงค์ระยะกลางเป็นการจัดตั้งทีมสำรวจระหว่างประเทศและการตั้งฐานของมนุษย์อย่างยั่งยืนบนดวงจันทร์ วัตถุประสงค์ระยะยาวคือการวางรากฐานสำหรับบริษัทเอกชนในการสร้างเศรษฐกิจดวงจันทร์ และสุดท้ายการทำภารกิจโดยลูกเรือเพื่อไปยังดาวอังคารและไกลกว่านั้น[7]

โครงการอาร์ทิมิสดำเนินการโดยนาซาและผู้รับเหมาการบินอวกาศเชิงพาณิชย์ของสหรัฐ โดยร่วมมือกับองค์การอวกาศยุโรปและหน่วยงานด้านอวกาศของประเทศอื่นๆ[a] ประเทศอื่น ๆ ได้รับเชิญให้เข้าร่วมโครงการผ่านการลงนามในข้อตกลงอาร์ทิมิส ซึ่งเปิดให้ลงนามตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2563

Main missions แก้

Mission Launch date Crew Launch vehicle[b] Launch pad Duration[c]
EFT-1 5 December 2014
Uncrewed mission
Delta IV Heavy Cape Canaveral Space Force Station, SLC-37B 4h24m
Exploration Flight Test 1, high apogee high reentry test, carrying an uncrewed Orion capsule on its first spaceflight
Artemis I
 
20 September–4 October 2022[14][15]
Uncrewed mission
SLS Block 1 Crew Kennedy Space Center, LC-39B 42d
Maiden flight of the SLS, formerly "Exploration Mission 1" (EM1), carrying an uncrewed Orion capsule and ten CubeSats selected through several programs.[16] The payloads will be sent on a trans-lunar injection trajectory.[17][18]
Artemis II May 2024[3] รอประกาศ SLS Block 1 Crew Kennedy Space Center, LC-39B ≈10d
First crewed flight, carrying four crew members along with numerous CubeSats to be selected through the CubeSat Launch Initiative.[19][20]
Artemis III 2025[3] รอประกาศ SLS Block 1 Crew[21] Kennedy Space Center, LC-39B ≈30d
Carrying the Artemis III mission hardware, expected to be the first lunar landing of the Artemis program.[22][21]
Artemis IV March 2026[23] รอประกาศ SLS Block 1B Crew Kennedy Space Center, LC-39B ≈30d
Debut of the SLS Block 1B and the Exploration Upper Stage. Co-manifested delivery of the I-HAB module to the Lunar Gateway.[24][25]
Artemis V 2027[26] รอประกาศ SLS Block 1B Crew Kennedy Space Center, LC-39B ≈30d
Co-manifested delivery of the ESPRIT Refueling Module to the Lunar Gateway.
Artemis VI (Proposed) 2028[27] รอประกาศ SLS Block 1B Crew Kennedy Space Center, LC-39B ≈30d
Artemis VII (Proposed) 2029[27] SLS Block 1B Cargo Kennedy Space Center, LC-39B >60d
Artemis VIII (Proposed) 2030[27] รอประกาศ SLS Block 1B Crew Kennedy Space Center, LC-39B ≈30d
Artemis IX (Proposed) 2031[27] รอประกาศ SLS Block 2 Crew Kennedy Space Center, LC-39B ≈30d
Artemis X (Proposed) 2032 (presumed) รอประกาศ SLS Block 2 Crew Kennedy Space Center, LC-39B <180d

หมายเหตุ แก้

อ้างอิง แก้

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NASA puts a price on a 2024 Moon landing — US$35 billion
  2. 2.0 2.1 "NASA: Moon to Mars". nasa.gov. NASA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 สิงหาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 19 พฤษภาคม 2019.
  3. 3.0 3.1 3.2 Foust, Jeff (9 พฤศจิกายน 2021). "NASA delays human lunar landing to at least 2025". SpaceNews. สืบค้นเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2021.
  4. Gebhardt, Chris (6 เมษายน 2017). "NASA finally sets goals, missions for SLS — multi-step plan to Mars". NASASpaceFlight.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 สิงหาคม 2017. สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2017.
  5. Grush, Loren (18 กรกฎาคม 2019). "NASA's daunting to-do list for sending people back to the Moon". The Verge. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 ธันวาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2019.
  6. Berger, Eric (20 พฤษภาคม 2020). "NASA's full Artemis plan revealed: 37 launches and a lunar outpost". Ars Technica. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 พฤษภาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2020.
  7. "NASA: Artemis Accords". nasa.gov. NASA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 พฤษภาคม 2020. สืบค้นเมื่อ 16 พฤษภาคม 2020.
  8. "NASA signs agreement with Italy to cooperate on Artemis". SpaceNews. 25 กันยายน 2020. สืบค้นเมื่อ 30 กันยายน 2020.[ลิงก์เสีย]
  9. Potter, Sean (13 ตุลาคม 2020). "NASA, International Partners Advance Cooperation with Artemis Accords". NASA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2021. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2021.
  10. "NASA Gains Broad International Support for Artemis Program at IAC". nasa.gov. NASA. 8 พฤศจิกายน 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 กรกฎาคม 2020. สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2020.
  11. "Brazil Signs Artemis Accords". NASA.gov. 15 มิถุนายน 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 มิถุนายน 2021. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2021.
  12. Potter, Sean (27 พฤษภาคม 2021). "Republic of Korea Joins List of Nations to Sign Artemis Accords". NASA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 พฤษภาคม 2021. สืบค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม 2021.
  13. "NASA.gov". 31 พฤษภาคม 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 มิถุนายน 2021. สืบค้นเมื่อ 1 มิถุนายน 2021.
  14. @jeff_foust (3 กันยายน 2022). "Jim Free: will not in this launch period, which ends Tuesday. What happens in next two periods (late Sept/early Oct, and mid-late Oct) will depend on options the team comes up with by Monday or Tuesday" (ทวีต) – โดยทาง ทวิตเตอร์.
  15. Foust, Jeff (3 กันยายน 2022). "Second Artemis 1 launch attempt scrubbed". SpaceNews. สืบค้นเมื่อ 4 กันยายน 2022.
  16. Harbaugh, Jennifer (4 ตุลาคม 2021). "All Artemis I Secondary Payloads Installed in Rocket's Orion Stage Adapter". NASA. สืบค้นเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2021.
  17. Crane, Aimee (11 มิถุนายน 2019). "Artemis 1 Flight Control Team Simulates Mission Scenarios". NASA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 สิงหาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 6 สิงหาคม 2019. ...after the Space Launch System performs the Trans-Lunar Injection burn that sends the spacecraft out of Earth orbit and toward the Moon.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  18. Clark, Stephen (22 กรกฎาคม 2019). "First moon-bound Orion crew capsule declared complete, major tests remain". Spaceflight Now. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 สิงหาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 6 สิงหาคม 2019. The Artemis 1 mission profile. Credit: NASA [...] The Artemis 1 mission will send the Orion spacecraft into a distant retrograde lunar orbit and back...
  19. Hill, Denise (6 สิงหาคม 2019). "NASA's CubeSat Launch Initiative Opens Call for Payloads on Artemis 2 Mission". NASA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 สิงหาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 6 สิงหาคม 2019. NASA is seeking proposals from U.S. small satellite developers to fly their CubeSat missions as secondary payloads aboard the SLS on the Artemis 2 mission under the agency's CubeSat Launch Initiative (CSLI)   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  20. Klotz, Irene (5 สิงหาคม 2019). "NASA Scouting Cubesats For Artemis-2 Mission". Aviation Week & Space Technology. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 สิงหาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 6 สิงหาคม 2019. NASA on August 5 released a solicitation for cubesats to ride along with the first crewed flight of the Space Launch System rocket and Orion capsule, with the caveat that selected projects fill strategic knowledge gaps for future lunar and Mars exploration
  21. 21.0 21.1 Boeing Space (31 กรกฎาคม 2019). "Farther and faster: The next stage of America's Moon rocket is taking shape to dramatically reduce travel time in space and carry more on a single flight. The Boeing-built @NASA_SLS Exploration Upper Stage will fly on Artemis-3.pic.twitter.com/pNye8izfiE". Twitter. สืบค้นเมื่อ 31 กรกฎาคม 2019.
  22. Grush, Loren (22 พฤษภาคม 2018). "The first three missions of NASA's next big rocket will have to settle for a less-powerful ride". The Verge. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 สิงหาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 6 สิงหาคม 2019. But now NASA is going to fly all three missions — EM-1, EM-2, and Europa Clipper — on Block 1 [...] According to the memo, NASA will aim to have the second platform ready for a Block 1B launch in the beginning of 2024
  23. "NASA's Management of the Gateway Program for Artemis Missions" (PDF). Office of Inspector General (United States). NASA. 10 พฤศจิกายน 2020. p. 3. สืบค้นเมื่อ 4 มกราคม 2021. Artemis IV is scheduled to launch in March 2026 (as of August 2020).   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  24. Loff, Sarah (15 ตุลาคม 2019). "NASA Commits to Future Artemis Missions With More SLS Rocket Stages". NASA. สืบค้นเมื่อ 16 ตุลาคม 2019.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  25. "FY 2022 Budget Estimates – Gateway – Program Projects – International Habitat (I-Hab)" (PDF). NASA. 6 พฤษภาคม 2021. p. 97 (DEXP-67). สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2021. Delivery of I-Hab to the Gateway will be via the SLS Block 1B launch vehicle with Orion providing orbital insertion and docking.   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  26. Foust, Jeff (20 มกราคม 2022). "NASA foresees gap in lunar landings after Artemis 3". SpaceNews. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2022.
  27. 27.0 27.1 27.2 27.3 "NASA Exploration Production and Operations Long-Term Sustainability Request for Information (RFI)". GovTribe. 25 ตุลาคม 2021. p. 5. สืบค้นเมื่อ 6 พฤศจิกายน 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้