ผู้ใช้:Chinaporn/กระบะทราย

ความเป็นมาและความสำคัญ แก้

การบริหารราชการเป็นแบบตามลำดับชั้น   

ระบบราชการแบ่งเป็น6รูปแบบ[1]

  1. มีสายบังคับบัญชาเป็นลำดับหน้าที่
  2. แบ่งงานกันทำ
  3. ความไม่เป็นส่วนตัว
  4. มีกฎระเบียบและวิธีการ
  5. ความก้าวหน้าตตามคุณภา
  6. แบ่งแยกเรื่องส่วนตัวกันงาน
   ผู้บริหารภาครัฐถูกแต่งตั้งให้มีอาจในการสั่งการ ส่วนผู้ใต้บังคับบัญชามีปฎิบัติงานประจำวันให้เสร็จๆไป ซึ่งเป็นงานที่ซ่ำๆกัน ไม่ต้องใช้ดุลพินิจ แต่ในปัจจุบันสังคมมีความซับซ้อนมากขึ้นเลื่อยๆส่งผลให้งานมีความซับซ้อนขึ้นตามไปด้วย ทำให้เจ้าหน้าที่ต้องพัฒนาการบริหารภาครัฐแบบใหม่ขึ้น เพื่อรับมือกับหลากหลายปัจจัย ที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่21 ที่มีความซับซ้อนกว่าในอดีต โดยกลไกระบบราชการที่มุ่งเน้นการสั่งการและควบคุมตามสายบังคับบัญชา อาจไม่สามารถดำเนินให้สำเร็จโดยเร็วได้ บ่อยครั้งที่มีข้อจจำกัดหรือเกิดความสามารถในการปฏิบัติของรัฐเพียงลำพัง เนื่องอาจจะขาดข้อมูล ขาดความว่องไวในการดำเนินงาน ขาดความชำนาญในด้านเทคโนโลยเ หรือกระทั้งการใช้จ่ายของรัฐมิอาจกระทำได้ ภาครัฐต้องมีการปรับตัวปรับแนววิธีการแก้ไขเพื่อให้สอดคล้องกับท้องถิ่นหรือกลุ่มเป้าหมาย เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น การทำงานลักษณะเครือข่าย ระหว่างรัฐกับส่วนต่างๆในสังคมร่มมือกันในการแก้ไขปัญหาสังคม มีความสำคัญมากขึ้น เป็นการทำงานของรัฐในยุคใหม่ ที่เป็นหลักประกันว่าการปฏิบัติงานมีเป้าหมายตามที่สำคมต้องเป้าไว้ โดยการเปิดโอกาศให้สังคมช่วยในการตัดสินใจและลงมือแก้ไขอย่างจริงจัง การบริหารสาธารณะให้ความสัมคัญของ แนวร่วมที่มีความรู้ความสามารถในด้านที่เกียวข้องเพื่อช่วยกันแก้ไขปัญหา การบริหารสาธารณะจึงเป็นหนุ่งในการบริหารที่สร้างคุณค่าต่อสังคมเฃ่น เครือข่ายหมออนามัย[2] เครื่อข่ายเกษตกรต่างใช้แนวทางการบริหารงานภาครัฐในรูปแบบเครือข่ายเพื่อบรรลุเป้าหมายที่มีประสิทธิภาพ


ความหมายของการจัดการแบบเครือข่าย แก้

  • ได้ให้ความหมายของเครือข่ายว่า หมายถึง การร่วมมือระหว่างปัจเจกบุคคล กลุ่ม องค์กรประเภทเดียวกัน หรือเป็นเครือข่ายเชือมโยงระหว่างกลุ่ม องคก์ารต่างประเภทกัน ซึ่งมีหลายระดับตั้งแต่การเชือมโยงระหว่างปัจเจกต่อปัจเจก การเชื่อมโยง ระหว่างปัจเจกกับกลุ่ม การเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มต่อกลุ่มโดยดำเนินงานภายใต้เป้าหมายและวิธีการ ทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ[3]
  • ระบบการจัดการเครือข่ายจะมีบทบาทในการจัดการเครือข่าย เพื่อให้ดำเนินไปตามจุดประสงค์ เครือข่ายช่วยให้ประสบความสำเร็จ มีประสิทธิผล การจัดการเครือข่ายเริ่มจากการวางแผนเพื่อให้สมาชิคทราบว่าจะดำเนินการไปในทิศทางใด[4]
  • การทำงานแบบเครือข่ายหมายถึง การจัดรูปแบบความสัมพันธุของหน่วยงานทั้งหลาย เพื่อมุ่งแก้ไขปัญหาที่หน่อยงานหนึ่งไม่สามารถแก้ได้[5]


องค์ประกอบของเครือข่าย แก้

เครือข่ายเทียมคือ เครือข่ายที่เป็นเพียงการพบปะสังสรรค์ระหว่างสมาชิก โดยไม่มีเป้าหมายร่วมกัน และความแน่แน่ในการทำกิจกรรมร่วมกัน จึงไม่มีการสานต่อกันภายในสมาชิกในเครือข่าย ดังนั้นการที่เราเข้าใจองค์ประกอบ ของเครือข่ายที่แท้จริง เพื่อให้เกิดความเข้าใจในการสร้างเครือข่ายที่แท้จริง

โดยองค์ประกอบที่สำคัญของเครือข่ายแท้มี7องค์ประกอบ แก้

  1. รับรู้มุมมองร่วมกัน ถือเป็นหัวใจสำคัญ หากไม่มีความเข้าใจในการร่วมเครือข่าย จะทำให้การทำงานเป็นไปด้วยความยากลำบาก และการมองในมุมที่แตกต่างไม่ได้ก่อให้เกิดผลเสีย หากแต่การมองในมุมที่ต่างกัน ช่วยให้เกิดการสร้างสรรค์ในการทำงาน แต่ต้องอยู่ในจุดที่สามชิกยอมรับได้ด้วย
  2. การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน สามชิกต้องมองเป้าหมายในอนาคตร่วมกัน และมีวิสัยทัศน์สอคล้องกับเป้าหมายด้วย การเข้าใจในทิศทางเดียวกัน ทำให้การทำงานมีพลัง ช่วยลดความขัดแย่งที่อาจจะเกิดขึ้นได้
  3. การมีผลประโยชน์และความสนใจร่วมกัน สมาชิกแต่ละคนย่อมมีความต้องการเป็นของตนเอง แต่ความต้องการเหล่านั้นจะไม่มสามรถำเร็จได้หากสมาชิกต่างคนต่างอยู่ ผลประโยชน์ที่มากพอจะดึงดูดให้เกิดการรวมกลุ่ม ดังนั้นจึงต้องมีประโยชน์ร่วมกัน เช่น ชื่อเสียง ความก้าวหน้า การยอมรับเป็นต้น
  4. การมีส่วนร่วมของสมาชิก ทุกผ่ายต้องมีความร่วมมือ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการร่วมรับรู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ควรเป็นในลักษณะเท่าเทียมกัน
  5. การเสริมสร้างซึ่งกันและกัน โดยจุดแข็งของอีกผ่ายจะไปช่วยอีกผ่ายในการแก้ไขปัญหา ซึ่งเป็นจุดแข็งหลักของเครือข่าย
  6. การพึ่งอิงร่วมกัน สมาชิกจะเป็นต้องพึ่งพากันการอยู่ของอีกผ่ายจะเป็นการสร้างความเข้มแข็งของเครื่อข่าย
  7. การมีความสัมพันธ์เชิงแลกเปลี่ยน หากสมาชิกไม่สัมพันธ์กันแล้วย่อมไม่เกิดความร่วมมือกัน และจะไม่เกิดเครือข่ายที่แท้จริงขึ้นได้ ดังนั้นสมาชิกต้องทำกิจกรรมร่วมกัน เพื่อ ทำให้เกิดปฎิสัมพัทธ์ระหว่างกัน ยิ่งสมาชิกสัมพันธ์กันเท่าไหร่ การเชื่อโยงก็จะยิ่งเน้นแฟ้นขึ้น

ที่กล่าวมาข้างต้นเครื่อข่ายที่แท้จริงเกิดจาก การมีประโยชน์ร่วมกัน ต้องการร่วมกัน ต้องมีมุมมอง วิศัยทัศน์ร่วมกันหากสมาชิกไม่เข้าใจองค์ประกอบแล้วอาจจะเป็นการสร้างเครือข่ายเทียมแทนก็ได้

ประเภทและรูปแบบของเครือข่ายเทียม แก้

เราจำเป็นต้องแบ่งประเภท รูปแบบ เพื่อทำให้มองเห็นภาพและเกิดความเข้าใจ ดังนั้นรูปแบบและประเภทจึงมีความแตกต่างกันไป

1.เครือข่ายเชิงพื้นที่ หมายถึงการรวมตัวขององค์กร ที่อาศัยในพื้นที่หรืออาศัยพื้นที่เป็นหลักในการทำงาน เป็นการพัฒนาที่อาศัยเป็นเป้าหมายหลัก โดยยึดเอาพื้นที่อาศัยเป็นที่ตั้งแห่งความสำเร็จในการทำงานของทุกผ่าย โดยเครือข่ายเชิงพื้นที่ยังแบ่งได้อีกกลายระดับดังนี้

  • ตามระบบการปกครองของรัฐ เช่น ระดับ หมู่บ้าน ตำบล เครือข่ายระดับอำเภอ จังหวัด ระดับประเทศ
  • แบ่งตามความสำคัญของทรัพยากร เช่น เครือข่ายลุ่มน้ำปิง เครือข่ายอ่าวปัตตานี
    กิจกรรมและความสัมพันธ์ อาศัยพื้นที่เป็นตัวกำหนดกิจกรรม คือองค์กรจะหาแนวทาแก้ไขร่วมกัน โดยใช้การร่วม บูรณาการในการทำงาน

2.เครือข่ายเชิงประเด็ดกิจกรรม หรือสถาณการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดการรวมกลุ่มขึ้น โดยมีประเด็นมุ่งเน้นกิจกรรมนั้นอย่างจริงจัง และพัฒนาให้เกิดความร่วมมือกับภาคีอื่น โดยเครือข่ายเชิงประเด็ดกิจกรรมสามารถแบ่งลักษณะและโครงสร้างได้มากมายตามประเด็นและความสนใจของทั้งรัฐและเอกชน ประชาชน แต่ส่วนใหญ่เกิดจากความสนใจของผู้ทำกิจกรรมนั้นๆ แล้วหาแนวร่วมขึ้นมา ดังนั้นจึงเป็นการรวมตัวของบุคคลต่างๆที่ต้องการที่จะแก้ไขปัญหา ส่วนใหญ่เป็นการทำงานแนวราบ เพราะจากความสนใจเรื่องเดียวกันซึ่งแต่ละผ่ายมีอิสระในการทำงานกับประเด็นนั้น ภาพใต้ความสามารถของตนเอง ดังนั้นจะเป็นลักษณะของการพึ่งพาอาศัยกัน

3.เครือข่ายตามโครงสร้างหน้าที่ เกิดขึ้นเพราะภารกิจ และการรวมตัวของกลุ่มผลประโยชน์เป็นแนวในการบ่งเครือข่าย คือเครือข่ายภาครัฐ ภาคธุรกิจ โดยเครือข่ายต่างๆเน้นการดำเนินงานภายใต้กรอบแนวคิด วัตถุประสงค์และเป้าหมายนั้นๆ ลักษณะประเภทนี้ ก่อตัวตามผลประโยชน์ โดยกลุ่มผลประโยชน์จะสนับสนุนให้มีการจัดตั้งเครือข่ายเพื่อเข้าไปพัฒนา ดำเนินกิจกรรมเพื่อเป้าหมายนั้นๆ


การจำแนกระดับเครือข่าย แก้

ได้อธิบายการจำแนกระดับของเครือข่ายว่าเป็นการแสดงให้เห็นถึงความร่วมมือในเครือข่าย โดยระดับของเครือข่ายสามารถอธิบายได้ใน2มิติคือ มิติด้านโครตสร้างและมิติด้านความสัมพันธ์[6] ทั้ง2มิติ มีความเกี่ยวข้องกัน

1.มิติด้านโครงสร้าง แก้

การร่วมเครือข่ายทำได้หลายระดับตั้งแต่งสม่ำเสมอจนถึงครั้งคราว โดยการทำงานแบ่งได้เป็น4ระดับคือ
  1. การร่วมมือกันไม่เป็นทางการ คือองค์กรณืที่ทำงานร่วมกัน แต่ไม่มีสัญญาเป็นลายลักอักษร
  2. การร่วมมือกันอย่างเป็นทางการ คือการทำงานภายใต้สัญญา โดยมีขอบเขตหน้าที่ชัดเจน
  3. การร่วมมือโดยการร่วมลงทุน คือการที่หน่วยงานเข้ามาร่วมลงทุนในองค์กร
  4. การร่วมมือแบบjoin venture คือมีองค์กร2แห่งขึ้นไปร่วมกันอยู่

2.มิติด้านความสัมพันธ์ แก้

  1. ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของผู้ปฎิบัติงานระดับล่าง เช่นทำความรู้จักกับเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานอื่น
  2. ความร่วมมือระหว่งหน่วยงานของผู้ปฎิบัติงานระดับกลาง เช่น จัดให้มีระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกัน
  3. การประสานงานความร่วมมือระดับสูง เช่นลงทุนร่วมกัน หรือ พิจารณางบประมาณร่วมกัน

จากที่กล่าวมาข้างต้น สารมารถแบ่งได้2มิติคือโครงสร้างและความสัมพันธ์ โดยโรงสร้างจะแยกเป็น4ระดับ ซึ่งแต่ละระดับมีความแตกต่างกัน ส่วนความสัมพันธ์ จะแยกเป็นการประสานงานในระดับต่างๆ


เทคนิควิธีปฎิบัติจนนำไปสู่ความสำเร็จ แก้

  1. สร้างความตระหนักในปัญหาและการรวมตัว สร้างความตระหนักทราบในเรื่องที่ต้องการทำ เพื่อให้เข้าใจถึงในระดับล่าง การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพจุงเป็นสิ่งทำคัญที่จะ ทำให้ทุกคนเข้าใจครอบคลุมวัตถุประสงค์ เกิดจิตสำนึก ฉะนั้นการสือสารจึงเป็นสิ่งที่สำคัญมากที่จะทำให้ผูกพันกับเครือข่าย
  2. สร้างจุดร่วมของผลประโยชน์ หากสมาชิกไม่ทราบว่ากำลังทำอะไรอยู่ เครือข่ายก้จะไร้พลัง ดังนั้นจึงต้องมีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน ทำให้สมาชิกมองเห็นว่าเข้าจะได้รับผลประโยชน์ในสิ่งที่ได้เข้ามามีส่วนร่วม และก็ยังอาจจะใช้การประชาสัมพันธ์ เพื่อจูงใจให้ประชาชนอยากเข้าร่วมเครือข่ายอีกก็ได้
  3. แสวงหาแกนนำที่ดี ในการทำงานสิ่งหนึ่งจำเป็นต้องใช้จำนวนสมิกเป็นจำนวนมาก เราจำเป็นต้องหาแกนนำในการทำงาน ที่มีคุณลักษณะเหมาะสม มีอำนาจเพียงพอในการพลักดันการทำงานต่างๆให้บรรลุไปได้ด้วยดี
  4. สร้างแนวร่วมสมาชิกของเครือข่าย ปริมาณบุคลากรที่มีคุณภาพก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่กำหนดว่า จะยั่งยืนได้มากน้อยเพียงใด โดยการเสาะหาคนที่มีความคิด ที่จะสามารถช่วยแก้ปัญหา เพื่อเข้าร่วมกับเครือข่ายต่อไป
  1. ร้อยตระกูล อรรถมานะ, 2527,ระบบราชการไทย
  2. วิจารณ์ พานิช. 2546. การจัดการเครือข่ายวิชาการ
  3. กองส่งเสริมและพัฒนาเครือข่าย (2547: 7)
  4. นาย อัฐพนธ์ บรรจงวุฒิ, 2554, น.2. การจัดการเครือข่ายศิลปะวัฒนธรรม
  5. โกลด์สมิธและเอกเกอรส์, 2552
  6. เอกพงศ์ ไทรพุฒทอง (2549: 17-18) การขับเครือนงาน อย่างบูรณาการ