ประเทศเนปาลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020
ประเทศเนปาล ซึ่งเป็นตัวแทนของคณะกรรมการโอลิมปิกเนปาล เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 ที่โตเกียว เดิมกำหนดให้จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม ถึง 9 สิงหาคม 2020 แต่ถูกเลื่อนออกไปเป็นวันที่ 23 กรกฎาคม ถึง 8 สิงหาคม 2021 เนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19[1] นักกีฬาเนปาลเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อนทุกครั้งนับตั้งแต่ปี 1964 ยกเว้นปี 1968
ประเทศเนปาล ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 | |
---|---|
รหัสประเทศ | NEP |
เอ็นโอซี | คณะกรรมการโอลิมปิกเนปาล |
เว็บไซต์ | www |
ณ โตเกียว, ประเทศญี่ปุ่น 23 กรกฎาคม ค.ศ. 2021 – 8 สิงหาคม ค.ศ. 2021 | |
นักกีฬา | 5 คน ใน 4 ชนิดกีฬา |
ผู้เชิญธงชาติ (พิธีเปิด) | กัวริก้า ซิงห์ อเล็กซานเดอร์ ชาห์ |
ผู้เชิญธงชาติ (พิธีปิด) | N/A |
เหรียญ |
|
การเข้าร่วมแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน | |
จำนวนนักกีฬา
แก้จำนวนนักกีฬาในแต่ละชนิดกีฬามีดังต่อไปนี้
กีฬา | ชาย | หญิง | รวม |
---|---|---|---|
กรีฑา | 0 | 1 | 1 |
ยูโด | 0 | 1 | 1 |
ยิงปืน | 0 | 1 | 1 |
ว่ายน้ำ | 1 | 1 | 2 |
Total | 1 | 4 | 5 |
กรีฑา
แก้เนปาลได้รับสิทธิ์จากสหพันธ์กรีฑาโลกในการส่งนักกรีฑาหญิงไปแข่งขันกีฬาโอลิมปิก[2]
- หมายเหตุ–อันดับที่กำหนดไว้สำหรับการแข่งขันประเภทลู่จะอยู่ภายในกลุ่มของนักกีฬาเท่านั้น
- Q = ผ่านเข้ารอบต่อไป
- q = ผ่านเข้ารอบต่อไปในฐานะผู้แพ้ที่เร็วที่สุด หรือ ในการแข่งขันประเภทลาน โดยพิจารณาจากตำแหน่งโดยไม่บรรลุเป้าหมายการผ่านเข้ารอบ
- NR = สถิติระดับประเทศ
- N/A = รอบที่ไม่สามารถแข่งขันได้
- Bye = นักกีฬาไม่จำเป็นต้องแข่งขันในรอบ
- ประเภทลู่และถนน
นักกีฬา | รายการ | ฮีท | ก่อนรองฯ | รอบรองฯ | ชิงชนะเลิศ | ||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ผล | อันดับ | ผล | อันดับ | ผล | อันดับ | ผล | อันดับ | ||
สรัสวตี เชาดารี | 100 เมตร หญิง | 12.91 SB | 8 | ไม่ได้ผ่านเข้ารอบ |
ยูโด
แก้นปาลได้รับคำเชิญจากคณะกรรมาธิการไตรภาคีและสหพันธ์ยูโดนานาชาติให้ส่ง โซนิยา แบตตา ในรุ่นไลท์เวทหญิง (48 กก.) ไปแข่งขันโอลิมปิก[3]
นักกีฬา | รายการ/รุ่น | 32 คน | 16 คน | ก่อนรองฯ | รอบรองฯ | แก้ตัว | ชิงชนะเลิศ/ทองแดง | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
คู่แข่ง ผล |
อันดับ | ||
โซนิยา แบตตา | 48 กก. หญิง | ดอลโกวา (ROC) แพ้ 00–10 |
ไม่ได้ผ่านเข้ารอบ |
ยิงปืน
แก้เนปาลได้รับคำเชิญจากคณะกรรมาธิการไตรภาคีให้ส่งนักกีฬายิงปืนลมหญิงไปแข่งขันโอลิมปิก ตราบใดที่ได้รับคะแนนผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ (MQS) ภายในวันที่ 5 มิถุนายน 2021[4]
นักกีฬา | รายการ | คัดเลือก | ชิงชนะเลิศ | ||
---|---|---|---|---|---|
คะแนน | อันดับ | คะแนน | อันดับ | ||
คาลปานา ปาริยาร์ | ปืนยาวอัดลม 10 เมตร หญิง | 616.8 | 46 | ไม่ได้ผ่านเข้ารอบ |
ว่ายน้ำ
แก้เนปาลได้รับคำเชิญจาก FINA เพื่อส่งนักว่ายน้ำอันดับต้นๆ สองคน (เพศละคน) ในรายการประเภทบุคคลของตนไปแข่งขันโอลิมปิก โดยยึดตามระบบคะแนนของ FINA เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2021[5]
นักกีฬา | รายการ | ฮีท | รอบรองฯ | ชิงชนะเลิศ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
เวลา | อันดับ | เวลา | อันดับ | เวลา | อันดับ | ||
อเล็กซานเดอร์ ชาห์ | ฟรีสไตล์ 100 เมตร ชาย | 53.41 | 59 | ไม่ได้ผ่านเข้ารอบ | |||
กัวริก้า ซิงห์ | ฟรีสไตล์ 100 เมตร หญิง | 1:00.11 | 50 | ไม่ได้ผ่านเข้ารอบ |
อ้างอิง
แก้- ↑ "Joint Statement from the International Olympic Committee and the Tokyo 2020 Organising Committee". Olympics. 24 March 2020. สืบค้นเมื่อ 28 March 2020.
- ↑ "Road to Olympic Games 2020". World Athletics. สืบค้นเมื่อ 11 June 2021.
- ↑ Messner, Nicolas (22 June 2021). "Tokyo 2020: Official Olympic Qualification List". International Judo Federation. สืบค้นเมื่อ 2 July 2021.
- ↑ "Quota Places by Nation and Number". www.issf-sports.org/. ISSF. 31 May 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 June 2021. สืบค้นเมื่อ 31 May 2021.
- ↑ "Tokyo Olympics Entry Lists Released, Swimming Begins July 24". Swimming World Magazine. สืบค้นเมื่อ 16 July 2021.