เบงคลูรู

(เปลี่ยนทางจาก บังกาลอร์)

เบงคลูรู[10] [เบง-คะ-ลู-รู] หรือ บังคาลอร์[10] (กันนาดา: ಬೆಂಗಳೂರು, ออกเสียง: [ˈbeŋɡəɭuːɾu]( ฟังเสียง)) เป็นเมืองเอกและเมืองใหญ่สุดในรัฐกรณาฏกะ ประเทศอินเดีย บริเวณที่ราบสูงแดกกัน ระดับความสูง 3,000 ฟุต (914.4 เมตร) เหนือระดับน้ำทะเล[11] เป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของประเทศ เบงคลูรูเป็นเมืองที่สะอาดและใส่ใจสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างดี ตามท้องถนนหรือสวนสาธารณะเต็มไปด้วยต้นไม้ขนาดใหญ่นานาชนิดที่ให้ความร่มรื่น แม้แต่ในช่วงฤดูร้อน ผู้คนที่เดินตามท้องถนนแทบไม่ต้องกางร่ม เนื่องจากได้ร่มเงาจากต้นไม้[12] เป็นเมืองที่เจริญก้าวหน้าเมืองหนึ่งของอินเดียหรือในระดับเอเชียใต้ เมืองนี้รู้จักกันในชื่อ หุบเขาซิลิคอนแห่งอินเดีย เนื่องจากเป็นเมืองส่งออกเทคโนโลยี[13][14][15] ติด 1 ใน 10 อันดับเมืองที่มีผู้ประกอบการมากที่สุดในโลก[16]

เบงคลูรู
ตามเข็มนาฬิกาจากด้านบน: ภาพกว้างของเบงคลูรูจากยูบีซิตี, อินโฟซิส, วังเบงคลูรู, วิธนสูธ, บ้านกระจกแห่งลาลบาฆ, บักเมนเทคพาร์ค
สมญา: 
หุบเขาซิลิกอนแห่งอินเดีย, นครอุทยานแห่งอินเดีย
แผนที่
เบงคลูรูตั้งอยู่ในบังคาลอร์
เบงคลูรู
เบงคลูรู
ที่ตั้งในเบงคลูรู
เบงคลูรูตั้งอยู่ในรัฐกรณาฏกะ
เบงคลูรู
เบงคลูรู
ที่ตั้งในรัฐกรณาฏกะ
เบงคลูรูตั้งอยู่ในประเทศอินเดีย
เบงคลูรู
เบงคลูรู
ที่ตั้งในอินเดีย
เบงคลูรูตั้งอยู่ในทวีปเอเชีย
เบงคลูรู
เบงคลูรู
ที่ตั้งในเอเชีย
เบงคลูรูตั้งอยู่ในโลก
เบงคลูรู
เบงคลูรู
ที่ตั้งในโลก
พิกัด: 12°58′45″N 77°35′29″E / 12.9791198°N 77.5912997°E / 12.9791198; 77.5912997
ประเทศอินเดีย
รัฐรัฐกรณาฏกะ
ภูมิภาคBayaluseemē
อำเภอเบงคลูรู
ภาษาภาษากันนาดา
ก่อตั้งเมื่อค.ศ. 1537
ผู้ก่อตั้งKempe Gowda I
การปกครอง
 • ประเภทMunicipal Corporation
 • Administrator
(In Absence of Mayor)
Gaurav Gupta, IAS[1]
พื้นที่[2][3]
 • นคร709 ตร.กม. (274 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล8,005 ตร.กม. (3,091 ตร.ไมล์)
ความสูง[4]920 เมตร (3,020 ฟุต)
ประชากร
 (2011)[5]
 • นคร8,443,675 คน
 • อันดับ3
 • ความหนาแน่น12,000 คน/ตร.กม. (31,000 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง[6]10,456,000 คน
 • อันดับ[7]5
เดมะนิมBangalorean, Bengalurinavaru, Bengalurean, Bengaluriga
เขตเวลาUTC+5:30 (เวลามาตรฐานอินเดีย)
รหัสไปรษณีย์560 xxx
รหัสพื้นที่91-(0)80-XXXX XXXX
ทะเบียนพาหนะKA 01,KA-02,KA-03,KA-04,KA-05,KA-41,KA-50 KA-51,KA-53
Metro GDP$45–83 พันล้าน[8]
ภาษาราชการภาษากันนาดา[9]
ClimateAw (Köppen)
เว็บไซต์www.bbmp.gov.in

ภูมิอากาศ

แก้
ข้อมูลภูมิอากาศของเบงคลูรู
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 32.1
(89.8)
34.5
(94.1)
37
(99)
38.9
(102)
37.8
(100)
36.4
(97.5)
33.1
(91.6)
32.4
(90.3)
34.2
(93.6)
33
(91)
32
(90)
31.2
(88.2)
38.9
(102)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 27.6
(81.7)
30.2
(86.4)
32.9
(91.2)
34.1
(93.4)
33.3
(91.9)
29.4
(84.9)
28.1
(82.6)
27.5
(81.5)
28.3
(82.9)
28
(82)
27
(81)
26.2
(79.2)
29.38
(84.89)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 21.3
(70.3)
23.6
(74.5)
26.1
(79)
28
(82)
27.4
(81.3)
24.6
(76.3)
23.9
(75)
23.5
(74.3)
23.9
(75)
23.7
(74.7)
22.2
(72)
13
(55)
23.43
(74.18)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 15.3
(59.5)
17.2
(63)
19.6
(67.3)
21.8
(71.2)
21.5
(70.7)
20
(68)
19.8
(67.6)
19.6
(67.3)
19.7
(67.5)
19.4
(66.9)
17.7
(63.9)
16
(61)
18.97
(66.14)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 8
(46)
11.4
(52.5)
13.9
(57)
16.8
(62.2)
17.2
(63)
17.4
(63.3)
17
(63)
17.5
(63.5)
16.8
(62.2)
13
(55)
11.3
(52.3)
9.6
(49.3)
8
(46)
ปริมาณฝน มม (นิ้ว) 1.8
(0.071)
7.9
(0.311)
7
(0.28)
40
(1.57)
110.2
(4.339)
89.1
(3.508)
108.9
(4.287)
142.5
(5.61)
241
(9.49)
154.5
(6.083)
54.1
(2.13)
17.5
(0.689)
974.5
(38.366)
ความชื้นร้อยละ 60 52 45 51 60 72 76 79 76 73 70 68 65.2
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย 0.2 0.5 0.8 3 6.9 6 7.4 10 10.3 7.9 3.9 1.6 58.5
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 263.5 248.6 272.8 258 241.8 138 111.6 114.7 144 173.6 189 211.8 2,367.4
แหล่งที่มา 1: India Meteorological Department,[17] NOAA (1971–1990)[18]
แหล่งที่มา 2: HKO (sun only, 1971–1990)[19]

เมืองพี่น้อง

แก้

เบงคลูรู ได้สถาปนาความสัมพันธ์กับเมืองพี่น้องทั้ง 4 เมือง ดังต่อไปนี้:[20][21][22][23]

เมือง เขต ประเทศ
มินสค์   ภูมิภาคมินสค์   เบลารุส
ซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย   สหรัฐ
เฉิงตู เสฉวน   จีน
คลีฟแลนด์[24] รัฐโอไฮโอ   สหรัฐ
ภาพพาโนรามาเมืองเบงคลูรู

อ้างอิง

แก้
  1. "Term of BBMP council ends; govt appoints Gaurav Gupta as administrator" – โดยทาง The Economic Times.
  2. K. V. Aditya Bharadwaj (28 กรกฎาคม 2015). "Bengaluru is growing fast, but governed like a village". The Hindu. Bengaluru. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2016. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2015.
  3. "Profile". Bangalore Metropolitan Region Development Authority. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 March 2016. สืบค้นเมื่อ 21 March 2016.
  4. H.S. Sudhira; T.V. Ramachandra; M.H. Bala Subrahmanya (2007). "City Profile — Bangalore" (PDF). Cities. Bangalore. 24 (5): 382. doi:10.1016/j.cities.2007.04.003. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 24 ธันวาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2013.
  5. Bangalore Metropolitan/City Population section of "Bangalore Population Sex Ratio in Bangalore Literacy rate Bangalore". 2011 Census of India. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 January 2017.
  6. "The World's Cities in 2016" (PDF). United Nations. October 2016. p. 4. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 12 January 2017. สืบค้นเมื่อ 4 March 2017.
  7. "INDIA STATS : Million plus cities in India as per Census 2011". Press Information Bureau, Mumbai. National Informatics Centre. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 มิถุนายน 2015. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2015.
  8. "50th Report of the Commissioner for Linguistic Minorities in India (July 2012 to June 2013)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 8 July 2016. สืบค้นเมื่อ 14 January 2015.
  9. 10.0 10.1 "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.
  10. Swaminathan, Jayashankar M. (2009). Indian Economic Superpower: Fiction Or Future?. Vol. Volume 2 of World Scientific series on 21st century business, ISSN 1793-5660. World Scientific. p. 20. ISBN 9789812814661. {{cite book}}: |volume= has extra text (help)
  11. หน้า 2 Life, ฤดูร้อนที่เบงการูลู โดย โมโจ. "Life Story". กรุงเทพธุรกิจปีที่ 29 ฉบับที่ 10151: วันศุกร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
  12. Canton, Naomi (6 December 2012). "How the 'Silicon Valley of India' is bridging the digital divide". CNN. สืบค้นเมื่อ December 6, 2012.
  13. RAI, SARITHA (20 March 2006). "Is the Next Silicon Valley Taking Root in Bangalore?". New York Times. สืบค้นเมื่อ March 20, 2006.
  14. Vaidyanathan, Rajini (5 November 2012). "Can the 'American Dream' be reversed in India?". BBC World News. สืบค้นเมื่อ 5 November 2012.
  15. "Bangalore among the top 10 preferred entrepreneurial locations". The Economic Times. 12 April 2012.
  16. "Bengaluru Climatological Table 1971-200". Indian Meteorological Department. สืบค้นเมื่อ 30 September 2012.
  17. "Bangalore Climate Normals 1971–1990". National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ December 24, 2012.
  18. "Climatological information for Bangalore, India". Hong Kong Observatory. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-01-18. สืบค้นเมื่อ 4 May 2011.
  19. "Twin towns and Sister cities of Minsk [via WaybackMachine.com]" (ภาษารัสเซีย). The department of protocol and international relations of Minsk City Executive Committee. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-05-02. สืบค้นเมื่อ 2013-07-21.
  20. "The official visit of the Republic of Belarus parliamentary delegation to the Republic of India is over". Website of the National Assembly of Belarus. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-01-05. สืบค้นเมื่อ 10 March 2008.
  21. "Bangalore, San Francisco now 'sister cities'". Deccan Herald. India. 10 November 2010. สืบค้นเมื่อ 26 October 2011.
  22. Online Directory: India, Asia. Sister Cities International.
  23. "Sister Cities International (SCI)". Sister-cities.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-06-13. สืบค้นเมื่อ 2013-04-21.

บรรณานุกรม

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้