นูร์บานู ซุลตัน
นูร์บานู ซุลตัน (ตุรกีออตโตมัน: نور بانو سلطان, ตุรกี: Nurbanu Sultan; ป. ค.ศ. 1525[1] – 7 ธันวาคม ค.ศ. 1583) เป็นฮาเซกี ซุลตันแห่งจักรวรรดิออตโตมัน โดยเป็นพระมเหสีเอกของสุลต่านเซลิมที่ 2 (ครองราชย์ ค.ศ. 1566–1574) ภรรยาถูกกฎหมาย เช่นเดียวกันกับวาลีเด ซุลตันกับพระราชมารดาของสุลต่านมูรัดที่ 3 (ครองราชย์ ค.ศ. 1574–1583) พระองค์เป็นหนึ่งในบุคคลสำคัญที่สุดในช่วงรัฐสุลต่านหญิง มีทฤษฎีที่ขัดแย้งกันบอกถึงพระองค์ว่ามีต้นกำเนิดเป็นชาวเวนิส, ชาวยิว[2] หรือชาวกรีก[3] และพระนามาภิไธยตอนเสด็จพระราชสมภพว่าเป็นทั้งเซซิเลีย เวเนียร์-บัฟโฟ (Cecilia Venier-Baffo),[4] ราเชล[5] หรือคาเล คาร์ตาโน (Kalē Kartanou)[6]
นูร์บานู ซุลตัน | |||||
---|---|---|---|---|---|
วาลีเด ซุลตันแห่งจักรวรรดิออตโตมัน | |||||
ระหว่าง | 15 ธันวาคม ค.ศ. 1574 – 7 ธันวาคม ค.ศ. 1583 | ||||
ฮาเซกี ซุลตันแห่งจักรวรรดิออตโตมัน (มเหสีจักรพรรดิ) | |||||
ระหว่าง | 7 กันยายน ค.ศ. 1566 – 15 ธันวาคม ค.ศ. 1574 | ||||
คู่อภิเษก | สุลต่านเซลิมที่ 2 | ||||
พระราชบุตร | |||||
| |||||
ประสูติ | ป. ค.ศ. 1525 แพรอส, ซิคละดีส หรือเกาะคอร์ฟู, สาธารณรัฐเวนิส? เซซิเลีย เวเนียร์-บัฟโฟ หรือ ราเชล หรือ คาเล คาร์ตาโน | ||||
สวรรคต | 7 ธันวาคม ค.ศ. 1583 พระราชวังบาฮ์ชี, อิสตันบูล, จักรวรรดิออตโตมัน | (57–58 ปี)||||
ฝังพระศพ | มัสยิดฮาเกียโซเฟีย, อิสตันบูล | ||||
ศาสนา | อิสลาม อดีตเคยนับถือโรมันคาทอลิก ยูดาห์ หรือออร์ทอดอกซ์แบบกรีก |
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ A.H. de Groot, s.v. in Encyclopaedia of Islam vol.8 p.124
- ↑ Stanford J. Shaw, History of the Ottoman Empire and modern Turkey, Volume 1, p. 178, ที่ Google Books
- ↑ Arbel, Benjamin, Nur Banu (c. 1530-1583): A Venetian Sultana?
- ↑ Godfrey Goodwin, The Private World of Ottoman Women, Saqi Book, ISBN 0-86356-745-2, ISBN 3-631-36808-9, 2001. page 128,
- ↑ Valeria Heuberger, Geneviève Humbert, Geneviève Humbert-Knitel, Elisabeth Vyslonzil, Cultures in Colors, page 68. ISBN 3-631-36808-9, 2001
- ↑ Arbel, Benjamin, Nur Banu (c. 1530-1583): A Venetian Sultana?, Turcica, 24 (1992), pp. 241-259.
บรรณานุกรมแก้ไข
- Arbel, Benjamin, Nur Banu (c. 1530-1583): A Venetian Sultana?, Turcica, 24 (1992), pp. 241–259.
- Peirce, Leslie Penn (1993). The Imperial Harem: Women and Sovereignty in the Ottoman Empire. Studies in Middle Eastern History. New York: Oxford University Press. ISBN 978-0-19-507673-8.
- A.D. Alderson, The Structure of the Ottoman Dynasty. Clarendon Press, Oxford, 1956.
- Almanach de Gotha: annuaire généalogique, diplomatique et statistique, Justes Perthes, Gotha, 1880–1944.
- Düzbakar, Ömer (2006). Charitable Women And Their Pious Foundations In The Ottoman Empire: The Hospital of The Senior Mother, Nurbanu Valide Sultan.
- Burke's Royal Families of the World, Volume II: Africa & The Middle East, Burke's Peerage Ltd., London, 1980.
- A.H. de Groot, s.v. in Encyclopaedia of Islam vol.8 p. 124
- Yılmaz Öztuna, Devletler ve Hanedanlar, Turkiye 1074-1990, Ankara, 1989.
- Osman Selâheddin Osmanoğlu, Osmanli Devleti'nin Kuruluşunun 700. Yılında Osmanlı Hanedanı, Islâm Tarih, Sanat ve Kültür Araştırma Vakfı (ISAR), Istanbul, 1999.
- Emine Fuat Tugay, Three Centuries: Family Chronicles of Turkey and Egypt, Oxford, 1963.
- Ergin, Nina (2014). Ottoman Royal Women's Spaces: The Acoustic Dimension. The Johns Hopkins University Press.
- Uluçay, Mustafa Çağatay (1985). Padışahların kadınları ve kızları. Türk Tarihi Kurumu Yayınları.
- Freely, John (1999). Inside the Seraglio: Private Lives of the Sultans in Istanbul. Viking. ISBN 978-0140270563.
แหล่งข้อมูลอื่นแก้ไข
บทความเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ ราชวงศ์ และพระบรมวงศานุวงศ์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล |