ธงสีรุ้ง
ธงสีรุ้ง คือธงหลากสีที่ประกอบไปด้วยสี 7 สีเหมือนสีรุ้งกินน้ำ การออกแบบธงจะแตกต่างกันออกไปแต่ว่าส่วนมากแล้วจะใช้สีตามสเปกตรัมมองเห็นได้[1][2] ในครั้งแรกที่ไอแซก นิวตันเห็นรุ้งที่ผ่านออกมาจากปริซึม เขาได้กำกับว่ามี 7 สีคือ แดง, แสด, เหลือง, เขียว, น้ำเงิน, คราม, ม่วง[3] อย่างไรก็ตามเมื่อไม่ได้มองผ่านปรึซึม สีที่เข้าระบุว่าเป็น "สีน้ำเงิน" จริง ๆ แล้วคือ "สีน้ำเงินเขียว" หรือสีไซแอน ส่วนที่ระบุว่าเป็น "สีม่วง" ทุกวันนี้รู้จักกันในชื่อ "ดาร์กบลู"[4][5] ส่วนสีครามคือสีน้ำเงินธรรมดา[6][a]
ปัจจุบันมีธงสีรุ้งหลายผืนที่นำมาใช้ในเชิงสัญลักษณ์ เช่นธงเกย์ไพรด์ที่มีความหมายถึงกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (ตั้งแต่ ค.ศ. 1978), ธงสันติภาพสากลที่นิยมมากในอิตาลีและส่วนอื่น ๆ ของโลก (ตั้งแต่ ค.ศ. 1961)
การใช้ธงสีรุ้งในระดับสากลเริ่มขึ้นในต้นศตวรรษที่ 20 องค์การสัมพันธภาพสหกรณ์ระหว่างประเทศได้นำธงสีรุ้งมาใช้ตั้งแต่ ค.ศ. 1925 นองจากนี้ ชาวพื้นเมืองแอนดีสในเปรูและโบลิเวียยังใช้ธงที่คล้ายกันนี้เป็นตัวแทนมรดกของจักรวรรดิอินคา
ช่วงสงครามปฏิวัติอเมริกา นักเขียนนามโทมัส เพนได้เสนอให้ใช้ธงสีรุ้งบนเรือที่เป็นกลางในช่วงสงคราม[7][8][9]
อ้างอิง
แก้หมายเหตุ
แก้- ↑ "Newton named seven colors in the spectrum: red, orange, yellow, green, blue, indigo, and violet. More commonly today we only speak of six major divisions, leaving out indigo. A careful reading of Newton’s work indicates that the color he called indigo, we would normally call blue; his blue is then what we would name blue-green or cyan."[6]
อ้างอิง
แก้- ↑ Alvarez, José Antonio Pozas (7 August 2018). "Why Does the Rainbow have 7 Colors?". OpenMind. สืบค้นเมื่อ 30 May 2019.
- ↑ "The mathematical colors of the rainbow using HSL". College of Micronesia-FSM. สืบค้นเมื่อ 30 May 2019.
- ↑ Taylor, Ashley P. (February 28, 2017). "Newton's Color Theory, ca. 1665". The Scientist. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 5, 2019. สืบค้นเมื่อ 16 August 2020.
- ↑ "Understand the science of appearance of different colors of the rainbow". Encyclopædia Britannica. 2014. สืบค้นเมื่อ 16 August 2020.
- ↑ Staff (29 October 2014). "WATCH: This Is Not a Rainbow". ScienceAlert. สืบค้นเมื่อ 16 August 2020.
- ↑ 6.0 6.1 Waldman, Gary (1983). Introduction to Light: The Physics of Light, Vision, and Color (2002 revised ed.). Mineola, New York: Dover Publications. p. 193. ISBN 978-0486421186.
- ↑ Federal Writers' Project (WPA) (1940). New York—A Guide to the Empire State (1st ed.). Oxford University Press. ISBN 0195000382.
- ↑ "New Rochelle, NY-Points of Interest". The History Box. May 22, 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2021-06-10. (Transcription of New York—A Guide to the Empire State page.)
- ↑ Abbey, Edward (1988). One Life at a Time, Please (1st ed.). New York: Henry Holt and Company. p. 58. ISBN 0805006028.