ดามิโนไซด์ เป็นสารที่ใช้ลดความยาวของยอดในพืชบางชนิด เช่น แอปเปิล ถั่วลิสง ลดความสูงของต้นคริสต์มาส ไฮเดรนเยีย คาร์เนชันและเบญจมาศ และใช้ในการช่วยให้มะเขือเทศและแอปเปิลติดผล นิยมให้กับพืชโดยการฉีดพ่นทางใบ [2] แต่มีการใช้น้อยลงในปัจจุบันเพราะมีความเป็นพิษ โดยเฉพาะในพืชอาหาร เชื่อว่าสารตัวนี้ยับยั้งการสร้างจิบเบอเรลลินโดยยับยั้งเอนไซม์ 2-oxoglutarate-dependent dioxygenase

ดามิโนไซด์
Skeletal formula of daminozide
Ball and skill formula of daminozide
ชื่อ
Preferred IUPAC name
4-(2,2-Dimethylhydrazin-1-yl)-4-oxobutanoic acid
ชื่ออื่น
N-(Dimethylamino)succinamic acid; Butanedioic acid mono (2,2-dimethyl hydrazine); Succinic acid 2,2-dimethyl hydrazide
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
1863230
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.014.988 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 216-485-9
KEGG
MeSH daminozide
RTECS number
  • WM9625000
UNII
  • InChI=1S/C6H12N2O3/c1-8(2)7-5(9)3-4-6(10)11/h3-4H2,1-2H3,(H,7,9)(H,10,11) checkY
    Key: NOQGZXFMHARMLW-UHFFFAOYSA-N checkY
  • CN(C)NC(=O)CCC(O)=O
คุณสมบัติ
C6H12N2O3
มวลโมเลกุล 160.173 g·mol−1
ลักษณะทางกายภาพ ผลึกสีขาว
จุดหลอมเหลว 159.24 องศาเซลเซียส; 318.63 องศาฟาเรนไฮต์; 432.39 เคลวิน
ความอันตราย
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC):
  • >1,600 mg kg−1 (dermal, rabbit)
  • 8,400 mg kg−1 (oral, rat)
[1][ต้องการอัปเดต]
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
กรดอัลคาโนอิกที่เกี่ยวข้อง
Octopine
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

อ้างอิง แก้

  1. EXTOXNET Staff (September 1993). "Pestocide Information Profile: Daminozide". Ithaca, NY: Extension Toxicology Network [EXTOXNET] [CCE. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 6, 2013. สืบค้นเมื่อ 10 September 2013. A Pesticide Information Project of Cooperative Extension Offices of Cornell University, Michigan State University, Oregon State University, and University of California at Davis. Major support and funding was provided by the USDA/Extension Service/National Agricultural Pesticide Impact Assessment Program.[ต้องการแหล่งอ้างอิงดีกว่านี้]
  2. สถาพร ดียิ่ง, 2542
  • สถาพร ดียิ่ง. 2542. ฮอร์โมนพืช. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้