ซีเจ อีแอนด์เอ็ม
ซีเจ อีแอนด์เอ็ม (อังกฤษ: CJ E&M, ย่อมาจาก CJ Entertainment & Media; เกาหลี: 씨제이이앤엠) เป็นบริษัทบันเทิงและสื่อมวลชนของประเทศเกาหลีใต้ ก่อตั้งโดยกลุ่มซีเจในปี 2011 ก่อนที่ในเดือนกรกฎาคม 2018 ซีเจ อีแอนด์เอ็ม จะกลายเป็นแผนกย่อยของซีเจ อีเอ็นเอ็ม
ชื่อทางการค้า | CJ E&M |
---|---|
ชื่อท้องถิ่น | 씨제이이앤엠 |
ประเภท | บริษัทย่อย |
การซื้อขาย | KRX: 130960 (15 ตุลาคม 2010 - 1 กรกฎาคม 2018) |
อุตสาหกรรม | |
ก่อนหน้า |
|
ก่อตั้ง | 1 มีนาคม 2011 |
ผู้ก่อตั้ง | กลุ่มซีเจ |
ถัดไป | ซีเจ อีเอ็นเอ็ม (บริษัทมหาชน) |
สำนักงานใหญ่ | , |
พื้นที่ให้บริการ | ทั่วโลก |
บุคลากรหลัก | คิมซุงซู (ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร)[1] |
เจ้าของ | ข้อมูล ณ ธันวาคม 2017:[2]
|
บริษัทแม่ |
|
เว็บไซต์ | www |
ประวัติ
แก้ซีเจ อีแอนด์เอ็ม ก่อตั้งขึ้นในชื่อ โอ มีเดีย โฮลดิงส์ ในปี 2010
ในปี 2011 บริษัทเปลี่ยนชื่อเป็น ซีเจ อีแอนด์เอ็ม (ชื่อย่อของ CJ Entertainment & Media) ภายหลังการควบรวมกิจการกันของบริษัททั้ง 7 แห่งในกลุ่มซีเจ ประกอบด้วย ซีเจ มีเดีย, ออน-มีเดีย, เอ็มเน็ต, ซีเจ เอ็นเตอร์เทนเมนต์, ซีเจเกมส์, ซีเจ อินเทอร์เน็ต และแผนกสื่อของ ซีเจ โอ ช้อปปิ้ง[3]
ในปี 2016 ซีเจ อีแอนด์เอ็ม จัดตั้งสำนักงานใหญ่นอกประเทศแห่งแรกขึ้นที่ฮ่องกง เพื่อประมูลและขยายแผนพัฒนาบริษัท และส่งออกผลงานไปสู่กลุ่มประเทศในทวีปเอเชีย[4]
ในปี 2018 ซีเจ อีแอนด์เอ็ม จัดตั้งสำนักงานในประเทศสิงคโปร์ เพื่อขยายช่องทางการจัดจำหน่ายและสนับสนุนการขายโฆษณาของบริษัทในภูมิภาค[5] ในเดือนพฤษภาคม มีการประกาศควบรวม ซีเจ อีแอนด์เอ็ม และ ซีเจ โอ ช้อปปิ้ง เป็นบริษัทใหม่ในชื่อ ซีเจ อีเอ็นเอ็ม (CJ Entertainment and Merchandising) ซึ่งได้เปิดตัวไปในวันที่ 1 กรกฎาคม[6][7]
ธุรกิจ
แก้ปัจจุบัน
แก้เนื้อหาสื่อ – ดำเนินงานบริษัทผลิตสื่อและรายการโทรทัศน์[8]
- เอ็มเน็ต ในประเทศเกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และสหรัฐ
- ทีวีเอ็น ในทวีปเอเชีย
- เอ็กซ์ทีวีเอ็น
- โอ ทีวีเอ็น
- ออนสไตล์
- โอไลฟ์
- โรงภาพยนตร์เครือข่ายโอริออน (โอซีเอ็น)
- ช่องซีจีวี (เปิดตัวใหม่เป็นช่องภาพยนตร์โอซีเอ็นเมื่อ 1 มีนาคม 2020)[9]
- ซูเปอร์แอ็คชั่น (เปิดตัวใหม่เป็นช่องโอซีเอ็นทริลส์เมื่อ 1 มีนาคม 2020)[9]
- แคทช์ออน
- จุงฮวาทีวี
- ช่องโอจีเอ็น
- ตูนิเวอร์ส
- ดีไอเอทีวี
- ยูเอ็กซ์เอ็น
- อิงลิชเจ็ม
- สตูดิโอดรากอน[10]
- คาลเจอร์ดีพอต
- จีที:เอสที
- ฮวาแอนด์แดม พิกเจอร์ส
- เคพีเจ คอร์ปอเรชั่น
- เมกะมอนสเตอร์[11] (10.95%)*
- เมอรี่คาวครีเอทีฟ[12] (19%)*
- เจเอส พิกเจอร์ส
- สตูดิโอเทควัน[13]
- เอ็คโคไรท์ (ต้นฉบับจากประเทศสวีเดน)[14]
ภาพยนตร์ – ดำเนินงานบริษัทผลิตภาพยนตร์ สำนักพิมพ์ภาพยนตร์ และผู้ผลิตภาพยนตร์ลงทุน
- ซีเจ เอ็นเตอร์เทนเมนต์
- ซินีม่า เซอร์วิส
- เด็กซ์เตอร์ สตูดิโอ[15] (5%)*
- ฟิลาเมนต์ พิกเจอร์ส
- เจเคฟิล์ม[16]
- สกายแดนซ์มีเดีย (ไม่ทราบร้อยละการถือหุ้น, ต้นฉบับจากสหรัฐ)*[17]
- สตูดิโอดรากอน
- มูฟวี่ร็อก[18] (20%)*
เพลง – ดำเนินงานจัดการศิลปิน, ค่ายเพลง, บริษัทผลิตเพลง, จัด Event, บริษัทจัดคอนเสิร์ต, สำนักพิมพ์เพลง และบริษัทลงทุนด้านความบันเทิง
- สโตนมิวสิกเอนเตอร์เทนเมนต์ (ค่ายเพลงหลัก)
- เอ็มเอ็มโอเอนเตอร์เทนเมนต์
- ไฮอัพเอนเตอร์เทนเมนต์
- เจลลีฟิชเอนเตอร์เทนเมนต์
- ไฮไลท์ เรคคอร์ดส
- เอโอเอ็มจี
- อะมีบาเคาท์เจอร์
- สวิงเอนเตอร์เทนเมนต์
- ออฟเดอะเร็คคอร์ดส เอนเตอร์เทนเมนต์
- แอลเอ็มเอนเตอร์เทนเมนต์
การประชุม – ดำเนินงานบริษัทจัดคอนเสิร์ต จัดเทศกาล และจัดงานประกาศผลรางวัล[19]
- มาม่า
- เคคอน
- วัลเลย์ ร็อก มิวสิค แอนด์ อาร์ท เฟสติวัล
- เก็ตอิทบิวตี้ คอน
- โอไลฟ์ คอน
ศิลปะการแสดง – ดำเนินงานบริษัทผลิตละคร
แอนนิเมชั่น – ดำเนินงานบริษัทผลิตแอนิเมชัน สำนักพิมพ์แอนิเมชัน เนื้อหาการผลิตแอนิเมชั่น และการขายสินค้า
- สตูดิโอบาซูก้า[20]
ธุรกิจออนไลน์ – พัฒนาและผลิตเนื้อหาทางการตลาดและบริหารการตลาดแบบครบวงจร
อดีต
แก้- ซีเจ อีแอนด์เอ็ม แผนกเกม – ผู้เผยแพร่และผู้พัฒนาเกม – แยกกิจการออกมาในปี 2014 เป็นบริษัทอิสระในชื่อเน็ตมาร์เบิล
* หมายถึง บริษัทที่ซีเจ อีเอ็นเอ็ม หรือบริษัทในเครือเป็นผู้ถือหุ้นส่วนน้อย
บริษัทที่ร่วมทุนกับประเทศไทย
แก้กลุ่มซีเจยังได้ส่งบริษัทในเครือมาเปิดบริษัทเพื่อทำธุรกิจบันเทิงและสื่อร่วมกับบริษัทในประเทศไทย ดังนี้
- ซีเจ เมเจอร์ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ - โดยซีเจ เอ็นเตอร์เทนเมนต์ ร่วมกับเมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ เพื่อสร้างและผลิตภาพยนตร์ไทยที่ซื้อมาจากเกาหลีใต้เป็นหลัก[21] ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2559[22]
- ทรู ซีเจ ครีเอชั่นส์ - โดยซีเจ อีแอนด์เอ็ม ร่วมกับทรู คอร์ปอเรชั่น เพื่อสร้างและผลิตรายการโทรทัศน์และละครในประเภทต่าง ๆ ที่ไทยซื้อมาจากเกาหลีใต้ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2559[23]
ข้อวิจารณ์
แก้ในเดือนเมษายน 2015 ซีเจ อีแอนด์เอ็ม ถูกกล่าวหาว่ามีการระดมพนักงานหนุ่มเพื่อเติมที่นั่งในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี (AGM) เพื่อพยายามปิดปากผู้ถือหุ้นคนอื่น ๆ[24]
ในเดือนตุลาคม ซีเจ อีแอนด์เอ็ม และซีเจ อีแอนด์เอ็ม อเมริกา ซึ่งเป็นบริษัทย่อยในสหรัฐ ถูกฟ้องร้องโดย ดีเอฟเอสบี คอลเล็กทีฟ ซึ่งเป็นหน่วยงานจำหน่ายเพลงในกรุงโซล ในข้อหาละเมิดลิขสิทธิ์ และละเมิดรัฐบัญญัติลิขสิทธิ์แห่งสหัสวรรษดิจิทัลในศาลแขวงแห่งสหรัฐอเมริกาประจำแขวงกลางแคลิฟอร์เนีย เป็นจำนวนเงิน 50 ล้านดอลลาร์สหรัฐ การตอบสนองต่อชุดสูท ซีเจ อีแอนด์เอ็ม กล่าวหาว่าดีเอ็ฟเอสบีรู้สึกไม่พอใจในการตัดสินใจขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับการฟ้องร้องคดีที่คล้ายกันในกรุงโซลในปี 2011 การพิจารณาคดีครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2016 หลังจากที่ศาลปฏิเสธการเคลื่อนไหวของซีเจ อีแอนด์เอ็ม[25][26][27]
ดูเพิ่ม
แก้หมายเหตุ
แก้- ↑ สมัยก่อน www.cjenm.com ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2018 เว็บนี้เป็นเว็บของ ซีเจ อีเอ็นเอ็ม
อ้างอิง
แก้- ↑ http://m.cjem.net/company/ir?no=05
- ↑ "IR". m.cjem.net. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-22. สืบค้นเมื่อ 2018-07-22.
- ↑ Kim, Geun-woo (17 ตุลาคม 2010). "O Media Holdings – birth of a comprehensive media lord". Money Today. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 มีนาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 30 มกราคม 2016.
- ↑ Staff, Writer (25 กุมภาพันธ์ 2018). "CJ E&M sets up SEA HQ in Hong Kong". Marketing Magazine. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2016. สืบค้นเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2016.
- ↑ Joanna Padovano, Tong (26 มกราคม 2018). "CJ E&M Opens New Office In Singapore". TV Asia. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-01-26. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2018.
- ↑ "CJ오쇼핑·CJ E&M 합병법인 사명 'CJ ENM'으로". www.cj.net. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 มิถุนายน 2018. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2018.
- ↑ Kwon, Do-yeon (17 มกราคม 2018). "CJ 오쇼핑-CJ E&M 합병, "글로벌 미디어커머스 플랫폼으로"". Bloter. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 มกราคม 2018. สืบค้นเมื่อ January 17, 2018.
- ↑ http://m.cjem.net/business/mediaContent
- ↑ 9.0 9.1 채널CGV·수퍼액션, 3월부터 OCN무비·OCN스릴로 개명
- ↑ "Studio Dragon". m.cjenm.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 มิถุนายน 2018. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2018.
- ↑ 카카오M, 메가몬스터에 60억 지원... 영상사업 '드라이브'
- ↑ 스튜디오드래곤, '나인' 작가 소속 메리카우 지분 19% 인수
- ↑ "(주)스튜디오테이크원 [STUDIO TAKE ONE Co., Ltd.]". SaraminHR (ภาษาเกาหลี). สืบค้นเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2020.
- ↑ Korea’s CJ ENM Acquires Majority Stake In Swedish Distributor Eccho Rights
- ↑ [시그널 CJ ENM, 덱스터 김용화 대표 지분 일부 80억원에 인수]
- ↑ CJ E&M, 영화 제작에도 손댄다... JK필름 인수
- ↑ Skydance Gets $275M Infusion From RedBird Capital & ‘Parasite’ Studio CJ, Raising Valuation To $2.3B
- ↑ [공식 스튜디오드래곤, 영화 제작사 '무비락' 지분 인수.. 콘텐츠 제작 역량↑]
- ↑ http://m.cjem.net/business/convention
- ↑ "Bazooka". m.cjenm.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-15. สืบค้นเมื่อ 2018-06-15.
- ↑ "คุยกับ CJ MAJOR Entertainment ค่ายหนังเกาหลีที่ปักหมุดผลิตภาพยนตร์ไทย". สารคดีไลท์. สืบค้นเมื่อ 2021-04-30.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "ข้อมูล บริษัท ซีเจ เมเจอร์ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด". thaicorporates.com. สืบค้นเมื่อ 2023-12-17.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "แจ้งการจัดตั้งบริษัทย่อยแห่งใหม่". ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. 2016-10-13. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-04-30. สืบค้นเมื่อ 2021-04-30.
- ↑ Lee, Tae-hoon (3 เมษายน 2015). "CJ E&M mobilizes employees to silence shareholders". The Korea Observer. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 เมษายน 2015. สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2015.
- ↑ Jin, S. "CJ E&M Confronted with U.S. $50 Million Copyright Infringement Lawsuit". Koogle TV. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 ธันวาคม 2015. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2015.
- ↑ Kim Hoo-ran, Seo Jee-yeon. "CJ E&M faces $50m copyright lawsuit in U.S." The Korea Herald. Herald Corporation. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 มกราคม 2017. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2017.
- ↑ "DFSB Kollective Co. Ltd. v. CJ E&M, Inc. et al". justia.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 มกราคม 2017. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2017.